เทคโนโลยีการเกษตร
เซลล์เชื้อเพลิงจุลินทรีย์แบบทุ่นลอย-ต้นแบบระบบบำบัดชีวภาพประสิทธิภาพสูงระดับโรงงาน
รางวัลเชิดชูเกียรติ โครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2559
(สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับมูลนิธิบัวหลวง)
เอกสารประกอบ
รถเข็นอเนกประสงค์สำหรับเกษตรกรไร่สับปะรด
รางวัลที่ 3 โครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2559
(สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับมูลนิธิบัวหลวง)
เอกสารประกอบ
อุปกรณ์สอยผลไม้อเนกประสงค์
รางวัลที่ 2 โครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี พ.ศ. 2559 (สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับมูลนิธิบัวหลวง)
เจ้าของผลงาน นายอภิชาติ สุขเรืองทรัพย์
เงินรางวัล 150,000 บาท พร้อมโล่เชิดชูเกียรติ
ปัจจุบันการเก็บเกี่ยวผลไม้ชนิดต่างๆ มักนิยมใช้อุปกรณ์ เช่น จำปา และตะกร้อ เป็นต้น ซึ่งมักจะทำให้ผลไม้เกิดการบอบช้ำได้ง่าย และเก็บเกี่ยวในปริมาณแต่ละครั้งได้ไม่มาก และไม่สามารถเก็บเกี่ยวผลไม้ที่อยู่ในระยะที่สูงเกินระยะการเก็บของจำปาหรือตะกร้อได้
- ออกแบบให้มีลักษณะรูปร่างเหมือนใบไม้
- โครงสร้างทำจากวัสดุสแตนเลสดัดขึ้นรูป ขนาด 6 มิลลิเมตร โค้งรับช่วยให้การสอยผลไม้โดยไม่ต้องทำมุมมาก
- ที่ปลายอุปกรณ์มีคมสำหรับตัดขั้วผลไม้
- ใช้กลไกใการเกี่ยวผลไม้คล้ายกับ คลิปกรรไกรหนีบ
- มีถุงรองรับผลไม้ โดยสามารถถอดเปลี่ยนได้
- สามารถใช้เก็บเกี่ยวผลไม้ได้หลายชนิด
- ซอกซอนไปตามกิ่งไม้ได้ดี และสามารถปรับระยะความสูงของอุปกรณ์การสอยผลไม้ได้ตามที่ต้องการ
- สามารถเลือกเก็บเฉพาะผลที่ต้องการ แม้จะอยู่หลังใบหรือกิ่งไม้
เอกสารประกอบ
เครื่องแกะเมล็ดข้าวโพดหวานสด
เอกสารประกอบ
เครื่องมือควั่นกิ่งไม้เพื่อตอนกิ่ง
เจ้าของผลงาน
นายนิธิศ ทิพนี
๑๐๐ หมู่ ๔ ซ.วัดพระยาตาก ถ.ข้าวโพด ต.บ้านกล้วย อ.เมือง จ.ชัยนาท
ประโยชน์
-เพิ่มประสิทธิภาพในการตอนกิ่ง
-ประหยัดเวลาในการตอนกิ่ง
จุดเด่น
-ใช้งานง่าย หมุน ๑ รอบ พร้อมหุ้มตุ้มตอนได้
-โครงสร้างง่าย ปลอดภัย
-ลดเวลาในการควั่นกิ่งไม้ โดยปกติจะควั่น ๒ ครั้ง
เอกสารประกอบ
เครื่องปอกกระเทียม
เจ้าของผลงาน
นายพีรเดช มีสานุ
๕๙/๑ ถ.หมอกวน ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์
ประโยชน์
-เพื่อแก้ไขปัญหาการปอกกระเทียมด้วยมือ
-ลดเวลาในการทำงานประหยัดค่าใช้จ่ายมากขึ้น
-เกษตรกรขายกระเทียมและหัวหอมได้ราคาที่สูงขึ้น
จุดเด่น
-โครงสร้างตัวเครื่องทำจากโลหะสเเตนเลส น้ำหนักเบากะทัดรัดสะดวกต่อการใช้งาน
-เครื่องปอกกระเทียมสามารถปอกได้ทั้งกระเทียมกลีบใหญ่ กลีบเล็ก และยังสามารถ ปอกหอมแดงได้อีกด้วย
-ระยะเวลาในการปอกกระเทียม ๑๐ – ๑๕ วินาทีต่อครั้งปริมาณที่ใช้ปอก ๓๐๐ – ๔๐๐ กรัม
- การบำรุงรักษาค่อนข้างต่ำทำความสะอาดง่าย
เอกสารประกอบ
เครื่องดรัมชิพเปอร์ Drumchipper
เจ้าของผลงาน
นายเจษฎา ผลสวัสดิ์
๘๕/๓๖ หมู่ ๒ ต.บ่อวิน อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี
ประโยชน์
- ช่วยกำจัดของเหลือใช้ทางการเกษตร
- ส่งเสริมพลังงานทดแทน
จุดเด่น
- เครื่องจักรสามารถสับไม้และผลผลิตทางการเกษตรที่เหลือใช้ได้หลากหลายชนิด เช่นปีกไม้จากโรงงานแปรรูป ไม้เบญจพรรณทะลายปาลม์ หญ้าเนเบียร์ ก้านมะพร้าว ฟางข้าว ฯลฯ
- มีระบบป้อนและล็อควัตถุดิบ เพื่อความปลอดภัยในการใช้งาน
- เครื่องสับสามารถปรับตั้งขนาดของชิ้นไม้ที่สับตามความต้องการได้
เอกสารประกอบ
เครื่องตีเปลือกแยกใยแยกขุยมะพร้าว
เจ้าของผลงาน
นายสุทธิชัย อ่อนก้อน
๑๓๔ ถ.สกลกาฬสินธิ์ ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร
ประโยชน์
-เป็นเครื่องมือทำการระเบิดดาน
-เป็นการปรับโครงสร้างดินให้เกิดการร่วนซุยของดิน
-เป็นประโยชน์ด้านการเกษตร และไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
จุดเด่น
-มีขาริปเปอร์ พร้อมใบมีดติดที่บริเวณขาริปเปอร์ กว้าง ๗๐ ซม. ลงทำงานลึกที่ ๒๗-๓๐ ซม. ทำให้ดิน มีรอยแตกร้าวลึกที่ ๒๐ ซม. ซึ่จะห่างจากอ้อย ๑๐-๑๕ ซม.
-มีการใส่ปุ๋ยพร้อมการทำงาน และปีกยังสามารถกระจายปุ๋ยไปทั่วบริเวณแตกร้าว ทำให้รากหาธาตุอาหารได้ง่าย
-ลูกกลิ้งด้านหลังซึ่งมีลักษณะกลม มีเหล็กที่มนๆ ยึดติดรอบๆลูกกลิ้ง สามารถบดอัดดิน ให้แตกเพื่อปิดรอยขาริปเปอร์ไว้ ไม่ให้เกิดการสูญเสียความชื้นในดิน
เอกสารประกอบ
เครื่องผ่ามะพร้าวกึ่งอัตโนมัติ
เจ้าของผลงาน
นายสาทิป รัตนภาสกร 257/31 ซ.ประชาชื่น 30 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800
ประโยชน์
ผลิต ลดความเหนื่อยยาก และปลอดภัย ลดต้นทุนการผลิต มีคุณภาพสูง เป็นที่ในระดับมาตรฐานสากล
จุดเด่นหรือกลไกการทำงาน
การทำงานง่าย เพียงวางผลมะพร้าวในตำแหน่งที่กำหนดเครื่องจะทำงานเองจนสิ้นกระบวนการ
- ค่าใช้จ่ายต่ำและเร็วกว่าแรงงานคนกว่า 10 เท่า ความสามารถของเครื่องจักรทำงานได้ 8 ผล/นาทีหรือ 480 ผล/ชม.
- ระบบการทำงานมีความแม่นยำ ใช้ระบบนิวเมติกส์ สะดวก รวดเร็ว สะอาด
- สามารถผ่าผลมะพร้าวได้ทุกขนาด ทุกอายุความสุก ปลอดภัย เพราะใบมีดผ่าอยู่กับที่
ความแปลกใหม่
- สามารถผ่าผลมะพร้าวแบบขวางเส้นใยได้ดีมาก เมื่อเปรียบเทียบแบบการผ่าผลมะพร้าวตามแนวเส้นใย
- ได้น้ำมะพร้าวมาก เพราะผลมะพร้าวผ่าครึ่งราบเรียบถูกคว่ำลงทั้ง 2 ส่วน ทำให้ได้น้ำมะพร้าวไหลลงรางรองรับทั้งหมด
เอกสารประกอบ
เครื่องปลูกอ้อยแบบใช้ต้นกล้า
ผลงานของ
บริษัท เกษตรไทยอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
จังหวัดนครสรรค์