- หน้าแรก
- แนะนำโครงการ
- โครงการสร้างเครื่องจักรต้นแบบด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่า
- โครงการพัฒนาระบบอัตโนมัติ/สมาร์ทเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ของภาคการผลิตและบริการ
- โครงการพัฒนาต้นแบบเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ เพื่อการผลิตระดับชุมชน
- โครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา STI inventions contest 2025
- โครงการประกวดรางวัลเทคโนโลยียอดเยี่ยมด้านเครื่องจักรกลและอุปกรณ์ (Machinery for Equipment and Machinery Awards; MA)
- ดาวน์โหลด
- กระดานสนทนา
- แผนที่เว็บไซต์
- ติดต่อเรา
พลังงานทดแทน
ระบบปรับอากาศที่ใช้พลังงานจากความร้อนแสงอาทิตย์เป็นพลังงานหลัก
รายละเอียด:
โครงการพัฒนาสร้างระบบปรับอากาศที่ใช้พลังงานจากความร้อนแสงอาทิตย์เป็นพลังงานหลัก
ดำเนินการโดย สถาบันไทย-เยอรมัน
ระยะเวลาของโครงการ12 เดือน
หัวหน้าโครงการ นายเอกสิทธิ์ สุโขธนัง
บริษัทที่ร่วมโครงการ บริษัท สยาม เอส แอนด์ เอ็นอี เอ็นจิเนิยริ่ง จำกัด
เครื่องต้นแบบเชิงพาณิชย์พร้อมคุณลักษณะ
- ระบบทำความเย็นเป็นชนิดดูดซึม (Absorption Refrigeration) โดยใช้ลิเธียมโบรไมด์–น้ำ เป็นสารทำความเย็น โดยมีค่า COP เท่ากับ 0.15-0.2.5 โดยประมาณขึ้นกับอุณหภูมิของ generator
- มีความสามารถทำความเย็นสูงสุดเท่ากับ 5-8 TR หรือ 1.5-2 kW-hr โดยประมาณ
- ใช้พลังงานความร้อนร่วมกับ LPG เป็นแหล่งพลังงานความร้อนสำรองในกรณีที่พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ไม่เพียงพอ
- ห้องปรับอากาศขนาด 2x2.4x4 เมตร
สร้างระบบปรับอากาศที่ใช้พลังงานจากความร้อนแสงอาทิตย์เป็นพลังงานหลักที่มีความสามารถ ในการทำความเย็น 10 TR โดยประมาณ หรือค่า COP ประมาณ 0.3-0.5 โดยประมาณ โดยใช้พลังงานความร้อนร่วมกับ LPG เป็นแหล่งพลังงานความร้อนสำรอง และพลังงานไฟฟ้าสำรองจากแผงโซล่าเซล โดยอุปกรณ์ต่างๆ อยู่บนฐานที่สามารถเคลื่อนที่เพื่อนำไปใช้งานในที่ต่างๆได้
หลักของระบบทำความเย็นแบบดูดซึม
ในการพัฒนาระบบทำความเย็นแบบดูดซึมในระยะแรกก่อนปี 1960 เป็นระบบดุดซึมแบบชั้นเดียว โดยใช้สารลิเธียมโบไมด์เป็นสารดูดซึมและใช้น้ำเป็นสารทำความเย็น ต่อมามีการพัฒนาประสิทธิภาพของระบบให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยการพัฒนาระบบดูดซึมแบบสองชั้น (Double Effect Absorption Chiller)
ภาพที่ 1 แสดง เครื่องทำความเย็นระบบดูดซึมแบบสองชั้นของ YORK
ภาพที่ 2 แสดงระบบทำความเย็นแบบดูดซึมพลังงานแสงอาทิตย์แบบใช้รางพาราโบลิก
ที่มา: ข้อเสนอโครงการพัฒนาสร้างระบบปรับอากาศที่ใช้พลังงานจากความร้อนแสงอาทิตย์เป็นพลังงานหลัก(สถาบันไทย-เยอรมัน)
งบปี พ.ศ.:
2557 กังหันลมแนวนอนขนาด 1 กิโลวัตต์
รายละเอียด:
โครงการพัฒนาสร้างกังหันลมแนวนอนขนาด 1 กิโลวัตต์
ดำเนินการโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระยะเวลาของโครงการ 10เดือน
หัวหน้าโครงการ นายวรรณภพ กล่อมเกลี้ยง
บริษัทที่ร่วมโครงการ บริษัท ตะวันออกซินเทค จำกัด
แนวคิดการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยวิธีComputational Fluid Dynamicsแนวทางในการแก้ปัญหาของงานวิจัยนี้จะใช้การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์และเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์โดยวิธี Computational Fluid Dynamics และเก็บข้อมูลอุณหภูมิ จากหัววัดเซ็นเซอร์เพื่อใช้ใน การคำนวณหาความเร็ว อุณหภูมิ ของอากาศที่ปะทะกังหันลม
ภาพที่ 2.1 แสดง Horizontal Wind Turbine Model: AERO 1.0 kW.
ที่มา: ข้อเสนอโครงการพัฒนาสร้างกังหันลมแนวนอนขนาด 1 กิโลวัตต์ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี)
กังหันลมแกนนอนแอร์โรคลาส ขนาด 1 กิโลวัตต์ |
|
ข้อมูลทั่วไป |
|
กำลัง |
1 kW (1000 Watts) |
น้ำหนักรวม |
~ 400 Kg. ไม่รวมฐาน |
กังหัน |
|
ประเภทกังหัน |
กังหันแกนนอน |
วัสดุกังหัน |
Advanced engineering composite polymer (Rim) |
สีกังหัน |
ขึ้นอยู่กับลูกค้า |
อุปกรณ์ไฟฟ้า |
|
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า |
ประสิทธิภาพสูง, 1kW แบบแม่เหล็กถาวร |
อินเวอร์เตอร์ |
Integrated, On grid or 240 VDC |
ที่มา: ข้อเสนอโครงการพัฒนาสร้างกังหันลมแนวนอนขนาด 1 กิโลวัตต์ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี)
งบปี พ.ศ.:
2557 ชุดผลิตไบโอดีเซลโดยการแยกกลีเซอรอลอย่างต่อเนื่อง
รายละเอียด:
เจ้าของสิ่งประดิษฐ์
นายชาคริต ทองอุไร
129 หมู่ที่ 3 ถนนกาญจนวนิช
อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110
งบปี พ.ศ.:
2550 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่:
เครื่องผลิตแก๊สชีวภาพจากเศษอาหารและวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
รายละเอียด:
เจ้าของสิ่งประดิษฐ์
นายสมชาย แก้วจันทร์ฉาย
46/1 หมู่ 8 ตำบลหัวฝาย
อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ 54130
งบปี พ.ศ.:
2547 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่:
หัวเผาสำหรับแก๊สสังเคราะห์ค่าความร้อนต่ำ
รายละเอียด:
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
ผู้ดำเนินโครงการ
บริษัท อินเตอร์คลีน อินดัสตรีส์ จำกัด
ที่อยู่ หมู่ที่ 11 ซอยเพรชเกษม 85 ถนนเพรชเกษม
แขวง/ตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน
จังหวัดสมุทรสาคร 74130
Tel. 02-8110604-5
Fax. 02-8110607
อีเมล์ : zinfo@interkilns.com
Website : www.interkilns.com
งบปี พ.ศ.:
2555 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่: