หัตถกรรม

เครื่องวนด้ายกึ่งอัตโนมัต

อ, 13/05/2025 - 16:07 — admin5
รายละเอียด: 

ผู้พัฒนา
ผศ. ว่าที่ ร.ต. ดร. สิทธิบูรณ์ ศิริพรอัครชัย
สาขาวิศวกรรมและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

ชื่อสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ
วิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอผ้าบ้านเชียงราย
เลขที่ 96 หมู่ที่ 8 ตำบลดู่ใต้ อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน รหัสไปรษณีย์ 55000

 

งบปี พ.ศ.: 
2567
    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
    ภาพหน้าปก: 

    เครื่องขึ้นรูปปูนซีเมนต์เหลวสำหรับงานก่อสร้างอัตโนมัติ (ต่อยอด)

    พ, 21/08/2019 - 16:35 — admin5
    รายละเอียด: 

    งบปี พ.ศ.: 
    2562
    ภาพประกอบ: 
    เครื่องขึ้นรูปปูนซีเมนต์เหลวสำหรับงานก่อสร้างอัตโนมัติ (ต่อยอด)

    เอกสารประกอบ

    เอกสารเผยแพร่: 
    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
    ระดับ: 
    ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
    กลุ่มเป้าหมาย: 
    SME
    ราคาเครื่องจักร: 
    120000
    ภาพหน้าปก: 

    เครื่องกวักเส้นไหมและเส้นฝ้ายมีระบบปั่นหลอดด้ายในตัว

    พฤ, 02/08/2018 - 15:03 — admin5
    รายละเอียด: 

    ผู้พัฒนา

    งบปี พ.ศ.: 
    2561

    เอกสารประกอบ

    เอกสารเผยแพร่: 
    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
    ระดับ: 
    ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
    กลุ่มเป้าหมาย: 
    วิสาหกิจชุมชน
    ภาพหน้าปก: 

    เครื่องตีเกลียวกึ่งอัตโนมัติชนิด2หัว

    พ, 21/06/2017 - 17:55 — admin5
    รายละเอียด: 

    ผู้พัฒนา
    นายถิรหัส มั่นคง
    ว.การอาชีพของแก่น

    งบปี พ.ศ.: 
    2560
    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
    ภาพหน้าปก: 

    เครื่องอัดผ้ากาว

    พฤ, 21/04/2016 - 10:54 — admin5
    รายละเอียด: 

    ผู้พัฒนา

    งบปี พ.ศ.: 
    2559
      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ภาพหน้าปก: 

      เครื่องขึ้นรูปแกนบายศรีอัตโนมัติ ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์

      พฤ, 21/04/2016 - 10:22 — admin5
      รายละเอียด: 

      ผู้พัฒนา

      งบปี พ.ศ.: 
      2559

      เอกสารประกอบ

      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ภาพหน้าปก: 

      อุปกรณ์ควบคุมการทำงานของตะกอทอผ้า

      ศ, 10/04/2015 - 13:53 — admin5
      งบปี พ.ศ.: 
      2557

      เอกสารประกอบ

      เอกสารเผยแพร่: 
      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ภาพหน้าปก: 

      เครื่องเหลาหวาย

      อ, 19/08/2014 - 10:59 — admin5
      รายละเอียด: 

       

      ผู้พัเครื่องเหลาหวาย

      Hone Rattan Machine

                เครื่องจักสานเป็นงานศิลปหัตถกรรมที่ทรงคุณค่า และสามารถสร้างรายได้ให้กับท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี การเหลาหวายนั้นถือได้ว่าเป็นขั้นตอนแรกของการเตรียมวัสดุในการทำเครื่องจักสานที่ต้องใช้ทักษะและแรงงานที่มีฝีมือ ซึ่งลักษณะการเหลาคล้ายการปอกผลไม้หรือเหลาดินสอ ทำให้ใช้เวลาค่อนข้างนานพอสมควร และคนที่สามารถทำงานด้านนี้เริ่มหายากในปัจจุบัน ดังนั้น หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จึงพัฒนา “เครื่องเหลาหวาย” ขึ้น ซึ่งมีแนวคิดคล้ายกับเครื่องกลึงของงานโลหะ โดยเปลี่ยนจากตัวโลหะมาเป็นหวายแทน และใช้ตัวเครื่องกลึง ที่มีแป้นหมุน 1 ด้าน มีตัวจำปาหรือตัวยึดอีก 1 ด้าน และมีใบมีดเป็นตัวปอกเหลา ทำให้ได้หวายที่มีขนาดสม่ำเสมอตลอดเส้น

       
       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       


      คุณสมบัติและสมรรถนะ

      ·        ส่วนประกอบหลัก 4 ส่วน คือ ชุดหนีบชิ้นงานเข้าเครื่อง, ใบมีดสำหรับเหลา, ชุดหนีบชิ้นงานออก และชุดควบคุมเครื่อง  

      ·        ตัวเครื่องทำจากโลหะเคลือบสี มีชุดจับชิ้นงานป้อนเข้าสู่ใบมีด ผ่านไปยังใบมีดซึ่งทำหน้าที่เหลาผิวหวาย และยังมีส่วนที่หวายออกจากเครื่อง โดยมีตัวชุดจับชิ้นงานออกเหมือนด้านหน้า ภายในตัวเครื่องใช้แรงของมอเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นตัวเหลาหวาย

      ·        สามารถปรับการทำงานรองรับขนาดของหวายได้หลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 8 มิลลิเมตร ไปจนถึงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 เซนติเมตร สามารถเหลาหวายได้ตลอดเส้นตั้งแต่ด้านหัวถึงด้านปลาย

      ·        ทำงานได้ต่อเนื่องเส้นต่อเส้น อัตราความเร็วในการเหลาหวาย 2 - 3 เส้นต่อนาที (ที่ความยาวเส้นหวาย 5 เมตร)

      ·        ตัวเครื่องสามารถปรับความเร็วของมอเตอร์ได้ เนื่องจากมีระบบเกียร์ทำให้การทำงานสะดวกมากขึ้น

      ·        สามารถประยุกต์ใช้กับไม้เหลี่ยม เช่น ไม้ระแนง เป็นต้น

      ราคาเริ่มต้นที่   180,000  บาท/เครื่อง

      พัฒนาภายใต้ โครงการพัฒนาต้นแบบเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์เพื่อการผลิตระดับชุมชน

      พัฒนาโดย                 นายทวีวัฒน์  อารีย์พงศา

                              มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก (คลองหก) อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110

      โทรศัพท์ 081-6321198  Email: a_thaweewat@hotmail.com

      ผู้ประกอบการ         กลุ่มหัตถกรรมผลิตภัณฑ์หวาย  55/57 หมู่6 ต.บึงคำพร้อย อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี 12150

      โทรศัพท์ : 081-4301068   โทรสาร  :  02-9878115

       

      ฒนา
      ที่ปรึกษาด้านวิชาการ นายทวีวัฒน์ อารีย์พงศา ผู้จัดการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
      39 หมู่ 1 อาคารสำนักงานอธิการบดี (เดิม) ถนนรังสิต-นครนายก(คลองหก) อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110
      ผู้ประกอบการ
      กลุ่มหัตถกรรมผลิตภัณฑ์หวาย นายไพเราะ ธรรมโชติ
      55/517 ตำบลบึงคำพร้อย อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150

      งบปี พ.ศ.: 
      2557
      ภาพประกอบ: 
      เครื่องเหลาหวาย
        แคตตาล็อกเทคโนโลยี
        ภาพหน้าปก: 

        เครื่องทำเกลียวผักตบชวา

        จ, 18/08/2014 - 14:52 — admin5
        รายละเอียด: 

        เครื่องทำเกลียวจากเส้นผักตบชวา

        สร้างเพื่อการต่อเส้นผักตบชวาให้มีความยาวไม่รู้จบเผื่อแก้ไข้ข้อจำกัดด้านความยาวในการผลิตงานฝีมือ และทดแทรแรงงาน

        คุณสมบัติของเครื่อง

        1 มีมอเตอร์เป็นตัวพากระสวยปล่อย และเก็บเส้นผักตบชวา

        2 ตัวกระสวยสามารถถอดเข้าออกได้

        3 มีตู้คอนโทรลควบคุมการทำงานของตัวเครื่อง

        4 สามารถปรับความเร็วรอบได้

        5 มีระบบป้องกันไฟฟ้ารั่ว

        6 สามารถประยุกต์ใช้กับวัสดุอืนได้ เช่น เชื่อกกล้วย

        ราคาเริ่มต้น 120000 บาท/เครื่อง

         

        งบปี พ.ศ.: 
        2557
          แคตตาล็อกเทคโนโลยี
          ภาพหน้าปก: 

          เครื่องจักรกลงานไม้เอนกประสงค์

          จ, 18/08/2014 - 13:12 — admin5
          รายละเอียด: 

          เครื่องจักรกลงานไม้เอนกประสงค์

          • เป็นการประยุกต์เครื่องตัด เจาะ ไสไม้ที่มีอยู่ทั่วไปในปัจจุบัน  มาดัดแปลง  ประกอบเข้าด้วยกันในชุดเดียวกัน  ทำงานได้รวดเร็ว  โดยนำคุณสมบัติที่เด่นของแต่ละเครื่องมาปรับปรุงให้ใช้งานได้ดีขึ้น
          • เป็นเครื่องจักร ที่พัฒนาขึ้นด้วยกระบวนการวิศวกรรมย้อนรอย (ลอกแบบ และ/หรือ ดัดแปลง) จากเครื่องต้นแบบเครื่องเจาะรู, เครื่องไสไม้ ยี่ห้อ CHEN SHENG, เครื่องเลื่อยวงเดือนแบบตั้งพื้น เป็นต้น
          งบปี พ.ศ.: 
          2557
            แคตตาล็อกเทคโนโลยี
            ภาพหน้าปก: 
            เนื้อหาแหล่งข่าว