- หน้าแรก
- แนะนำโครงการ
- โครงการสร้างเครื่องจักรต้นแบบด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่า
- โครงการพัฒนาระบบอัตโนมัติ/สมาร์ทเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ของภาคการผลิตและบริการ
- โครงการพัฒนาต้นแบบเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ เพื่อการผลิตระดับชุมชน
- โครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา STI inventions contest 2025
- โครงการประกวดรางวัลเทคโนโลยียอดเยี่ยมด้านเครื่องจักรกลและอุปกรณ์ (Machinery for Equipment and Machinery Awards; MA)
- ดาวน์โหลด
- กระดานสนทนา
- แผนที่เว็บไซต์
- ติดต่อเรา
โครงการพัฒนาเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ เพื่อการผลิตระดับชุมชน (RID)
โครงการพัฒนาประดิษฐกรรมเพื่อชนบท (ชื่อเดิม)
เครื่องกรอด้ายสายสิญจน์
รายละเอียด:
ที่มาและความสำคัญ : การผลิตด้ายสายสิญจน์ เป็นการนำเส้นฝ้ายมารวมกันจำนวน 9 เส้น แล้วม้วนด้วยมือโดยใช้กระดาษแข็งหรือกระดาษลูกฟูกเป็นไส้แกนกลาง ทำให้เกิดความเมื่อยล้าในการทำงาน ปัญหาตามมาคือเกิดความล่าช้าผลิตได้ไม่ทันความต้องการของตลาด ลวดลายไม่สม่ำเสมอ ทำให้ไม่เป็นมาตรฐานของม้วนด้ายสายสิญจน์ การพัฒนาเครื่องกรอด้ายสายสิญจน์จึงเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาดังกล่าว
ลักษณะของเครื่อง :เครื่องประกอบด้วยส่วนสำคัญ 5 ส่วน คือ ชุดส่งด้าย ชุดแขนเหวี่ยงด้าย ชุดจับยึดแกนกรอด้าย ชุดควบคุม และชุดส่งกำลัง เครื่องสามารถตั้งเวลาในการกรอด้ายสายสิญจน์ เพื่อกำหนดความยาวด้ายที่ต้องการได้ ซึ่งความยาว 100 เมตร ใช้เวลาในการกรอ 27 นาที โดยมีขั้นตอนการทำงานดังนี้
1) นำม้วนด้ายฝ้ายจำนวน 9 ม้วนวางเรียงกันตรงส่วนที่เตรียมไว้สำหรับวางด้าย และร้อยด้ายผ่านรูทั้ง 9 รู แล้วรวมให้เป็นเส้นเดียว จากนั้นร้อยด้ายสายสิญจน์ไปตามแขนเหวี่ยงสำหรับกรอด้าย
2) นำด้ายสายสิญจน์ที่ร้อยอยู่ที่แขนเหวี่ยงมัดให้ติดกันกับไส้แกนที่ยึดติดที่แกนกรอด้าย เพื่อเวลาที่แขนหมุนเหวี่ยงด้ายจะได้ไม่หลุด
3) ตั้งเวลาในการกรอ 27 วินาที กดปุ่มเปิดให้เครื่องเริ่มทำการกรอด้ายสายสิญจน์ เมื่อครบกำหนดเวลาเครื่องจะหยุดอัตโนมัติ
กำลังการผลิตของเครื่อง:สามารถกรอด้ายสายสิญจน์ (ความยาว 100 เมตร) ได้ 133 ม้วน/ชั่วโมง
ขนาดเครื่องและน้ำหนักเครื่อง:- 120 X 120 X 100 เซนติเมตร, น้ำหนัก 70 กิโลกรัม
ราคาเครื่องเชิงพาณิชย์ เครื่องละ 30,000 บาท
หัวหน้าโครงการ นายเกรียงไกร ธารพรศรี
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
12ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300
งบปี พ.ศ.:
2553 เครื่องต้นแบบเครื่องอบข้าวฮางอินทรีย์แบบรางเขย่า
รายละเอียด:
นักวิจัย/สถาบัน
งบปี พ.ศ.:
2552 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่:
เครื่องผสมคลุกเคล้าปลาส้มเพื่อยกระดับกระบวนการผลิตปลาส้มจากระดับชุมชนครัวเรือนดั้งเดิมสู่ระดับอุตสาหกรรมครัวเรือนขนาดเล็กหรือย่อม
รายละเอียด:
นักวิจัย/สถาบัน
งบปี พ.ศ.:
2552 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่:
การผลิตน้ำส้มควันไม้พร้อมใช้โดยเครื่องแยกน้ำมันดิน
รายละเอียด:
นักวิจัย/สถาบัน
งบปี พ.ศ.:
2552 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่:
เครื่องตัดสบู่ทรงกระบอก
รายละเอียด:
นักวิจัย/สถาบัน
งบปี พ.ศ.:
2552 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่:
เครื่องลอกกาบกล้วย
รายละเอียด:
นักวิจัย/สถาบัน
งบปี พ.ศ.:
2552 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่:
เครื่องคั้นนํ้าส้มและมะนาวอัตโนมัติ
รายละเอียด:
นักวิจัย/สถาบัน
งบปี พ.ศ.:
2552 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่:
เครื่องอบแห้งข้าวเปลือกงอกด้วยเทคนิคฟลูอิไดเซชัน
รายละเอียด:
นักวิจัย/สถาบัน
งบปี พ.ศ.:
2552 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่:
เครื่องพิมพ์สกรีน จำนวน 6 สี
รายละเอียด:
นักวิจัย/สถาบัน
งบปี พ.ศ.:
2552 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่: