- หน้าแรก
- แนะนำโครงการ
- โครงการสร้างเครื่องจักรต้นแบบด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่า
- โครงการพัฒนาระบบอัตโนมัติ/สมาร์ทเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ของภาคการผลิตและบริการ
- โครงการพัฒนาต้นแบบเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ เพื่อการผลิตระดับชุมชน
- โครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา STI inventions contest 2025
- โครงการประกวดรางวัลเทคโนโลยียอดเยี่ยมด้านเครื่องจักรกลและอุปกรณ์ (Machinery for Equipment and Machinery Awards; MA)
- ดาวน์โหลด
- กระดานสนทนา
- แผนที่เว็บไซต์
- ติดต่อเรา
โครงการพัฒนาเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ เพื่อการผลิตระดับชุมชน (RID)
โครงการพัฒนาประดิษฐกรรมเพื่อชนบท (ชื่อเดิม)
เครื่องคั่วธัญพืช
รายละเอียด:
ผู้พัฒนา
งบปี พ.ศ.:
2559 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่:
เครื่องขึ้นรูปแกนบายศรีอัตโนมัติ ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์
รายละเอียด:
ผู้พัฒนา
งบปี พ.ศ.:
2559 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่:
เครื่องผลิตเม็ดแป้งสาคู
รายละเอียด:
เครื่องผลิตเม็ดแป้งสาคู
Sago Starch Production Machine
การผลิตเม็ดแป้งสาคูของเกษตรกรในอดีต ใช้วิธีการแบบดั้งเดิมคือการนําแป้งสาคูที่ยังชื้น พอหมาดๆ นําไปใส่ถาดและร่อนไปมา เพื่อให้แป้งจับตัวกันเป็นเม็ด จากนั้นจึงนํามาคัดแยกขนาดเม็ดสาคูอีกครั้งหนึ่ง ทําให้เสียเวลาและเกิดความเหนื่อยล้า จากปัญหาดังกล่าวทําให้ผู้ดําเนินโครงการมีแนวคิดที่จะสร้างเครื่องผลิตเม็ดแป้งสาคู ที่มีประสิทธิภาพในการทํางาน ได้ผลผลิตมากกว่าการใช้เครื่องมือแบบดั้งเดิม โดยมีหลักการร่อนแป้งให้เป็นเม็ดและคัดแยกขนาดให้ อยู่ในเครื่องเดียวกัน เพื่อให้ได้ผลผลิตมากกว่า สะดวกและรวดเร็ว ขนาดของเม็ดมีความสม่ำเสมอเท่ากันและสะอาดถูกสุขอนามัย
คุณสมบัติและสมรรถนะ
· เครื่องมีขนาด 55 x 140 x 74 เซนติเมตร วัสดุโครงสร้างทุกชิ้นส่วนซึ่งทําด้วยเหล็กสแตนเลส
· กำลังการผลิต 1 กิโลกรัมต่อ 2 นาที
· หน้าแปลนเหวี่ยงควบคุมระยะชักมอเตอร์ขนาด ½ แรงม้า ใช้ไฟ 220 V
· มียอย (Coupling) ขนาด เกียร์ทดอัตรา 1 : 15 ส่งกําลังไปยังเครื่องชุดถังร่อนแป้ง 92 รอบต่อนาที
· ระยะชักในการโยกของถังรวม 30 เซนติเมตi
· ตะแกรงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของรูต่างกัน 3 ขนาดคือ ตะแกรงตัวบนขนาด 5 มิลลิเมตร ตัวกลาง 4 มิลลิเมตร และตัวล่าง 3 มิลลิเมตร
· ถาดรองรับเม็ดแป้งเป็นมอเตอร์สั่นเขย่ารุ่น VBM-2M แรงเขย่าสูงสุด 21 กิโลกรัม ความเร็ว 3,000 รอบต่อนาที
· ติดตั้งชุดควบคุมระบบไฟฟ้าใช้ระบบไฟฟ้า AC 220 V ใช้ระบบเบรกเกอร์เป็นตัวควบคุมการเปิด ปิด
ราคาเริ่มต้นที่ 55,000 บาท/เครื่อง
พัฒนาภายใต้ โครงการพัฒนาต้นแบบเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์เพื่อการผลิตระดับชุมชน
พัฒนาโดย ผศ.พนม อินทฤทธิ์ มหาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดนครศรีธรรมราช
โทร : 081-8938430
ผู้ประกอบการ กลุมอนุรักษและแปรรูปสาคูบานกะโสม จังหวัดนครศรีธรรมราช
งบปี พ.ศ.:
2558 กี่ทอผ้ากึ่งอัตโนมัติสำหรับคนพิการ
รายละเอียด:
กี่ทอผ้ากึ่งอัตโนมัติสำหรับคนพิการ
Semi-Automatic Loom For Cripple
ศิลปะการทอผา คือ ภูมิปญญาไทยทีมีวิวัฒนาการที่ยาวนานสืบเนื่องจากบรรพบุรุษมาจนถึงปจจุบันและ เปนภูมิปญญาที่กําลังสูญหายไปตามกาลเวลาในการทอผาซึ่งปจจุบันมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตอง พัฒนากี่ทอผาใหมีความทันสมัย สะดวกในการใชงาน สามารถเพิ่มอัตรากําลังการผลิตใหรวดเร็ว คุณภาพของ ผลิตภัณฑไดมาตรฐานสามารถรองรับการตลาดในปจจุบันและในอนาคตทั้งทางดานปริมาณและเพิ่มมูลคา
คุณสมบัติและสมรรถนะ
· กำลังการผลิต 5-10 เมตรต่อวัน
· เครื่องจักรส่งกำลังด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า
· ใช้พลังงานจากคนและเครื่องจักร
· มีอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยในการทำงาน
· มีความแม่นยำรวจเร็ว
· จุดคุ้มทุนอยู่ที่ 2 ปี
ราคาเริ่มต้นที่ 100,000 – 200,000 บาท/เครื่อง
พัฒนาภายใต้ โครงการพัฒนาต้นแบบเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์เพื่อการผลิตระดับชุมชน
พัฒนาโดย นายทวิช พรมทาว
อาจารยประจําแผนกวิชาชางกอสราง วิทยาลัยเทคนิคแพร เลขที่ 5 ถนนเหมืองหิต ตําบลในเวียง อําเภอเมืองแพร จังหวัดแพร โทรศพัท 08-1-884- 1546
อีเมล wich1414@gmail.com
ร่วมกับ คุณยุพิน สายสําเภา และสมาชิก
หมู 5 ต.ทงุโฮง อ.เมือง จ.แพร 54000
นางเมธิณี บุญเอกบุศย รองผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคแพร
เลขที่ 5 ถนนเหมืองหิต ตําบลในเวียง อําเภอเมืองแพร จังหวัดแพร โทรศพัท 0-5451-1142
คุณปลัดดา ซอนกลิ่น
400/108 ถนนน้ําทอง อําเภอเมืองแพร จังหวัดแพร มือถือ 08-5035-3015
งบปี พ.ศ.:
2558 เครื่องอัดก้อนผงปรุงรสแบบต่อเนื่อง
รายละเอียด:
หัวหน้าโครงการ
ดร.บรรเจิด แสงจันทรื มทร.ล้านนา เชียงใหม่
ผู้ประกอบการ
กลุ่มสตรีเข้มแข็งอ.ปาย แม่ฮ่องสอน
งบปี พ.ศ.:
2558 เอกสารประกอบ
เอกสารเผยแพร่:
เครื่องอัดสุกข้าวเกรียบ
รายละเอียด:
เครื่องอัดสุกขาวเกรียบ
Extruder Cooking for crisp cracker
กระบวนการผลิตข้าวเกรียบแต่เดิมเป็นแบบใช้แรงงานคนเกือบ 100% ทำให้มีความจำกัดในด้านกำลังการผลิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของกระบวนการขึ้นรูปและการตาก เนื่องจากแป้งที่จะต้องน้ำมาทำนั้นต้องใช้แรงนวด ทำให้ขนาดของแท่งข้าวเกรียบไม่เท่ากัน หลังจากนั้นจะนำแท่งข้าวเกรียบที่นวดแล้วไปนึ่งเพื่อให้แป้งสุก แล้วนำไปพักหรือแช่ในตู้เย็นทิ้งไว้ 1 คืนถึงจะนำมาหั่นให้เป็นแผ่น ทั้งนี้ในการหั่นแต่ละชิ้นยังมีขนาดและน้ำหนักที่ต่างกันไม่ได้มาตรฐาน แล้วนำไปตากแดดให้แห้ง ซึ่งบางครั้งแดดไม่มีทำให้แผ่นข้าวเกรียบไม่แห้งและรักษาความชื้นของข้าวเกรียบไม่ได้ ผู้ประกอบการและผู้วิจัยจึงมีความคิดที่จะแก้ปัญหาดังกล่าวโดยทำการออกแบบและประดิษฐ์เครื่องผลิตข้าวเกรียบเพื่อให้สามารถผลิตได้รวดเร็วทันต่อความต้องการ ได้ขนาดและน้ำหนักใกล้เคียงกัน และง่ายต่อการใช้งานและการซ่อมบำรุง โดยมีราคาต้นทุนต่ำ ไม่ต้องพึ่งพาการนำเข้าของเครื่องจักรจากต่างประเทศ
คุณสมบัติและสมรรถนะ
· กำลังการผลิตสูงสุด 50 กิโลกรัมต่อชั่วโมง
· ใช้กำลังจากมอเตอร์ไฟฟ้า มีชุดวงจรควบคุมการทำงาน
· โครงเครื่องและตู้อบทำจากสเตนเลส
ราคาเริ่มต้นที่ 150,000 บาท/เครื่อง
พัฒนาภายใต้ โครงการพัฒนาต้นแบบเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์เพื่อการผลิตระดับชุมชน
พัฒนาโดย รศ.ดร.สุนทรี รินทร์คำ
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา วิทยาเขตภาคพายัพ 128 ถ.หวยแกว ต.ชางเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม 50300
โทรศัพท 086-4319700
ผู้ประกอบการ นางสาวภัสรนลิน ดวงคํา
วิสาหกิจชุมชน รักษดอนจั่น เลขที่ 12/17 หมู 4 ต.ทาศาลา อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000 โทรศัพท์ 099-2979654
งบปี พ.ศ.:
2558