โครงการพัฒนาระบบอัตโนมัติ/สมาร์ทเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของภาคการผลิตและบริการ (AUS)

โครงการพัฒนาระบบอัตโนมัติ/สมาร์ทเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของภาคการผลิตและบริการ

หุ่นยนต์หยิบวางแบบอัตโนมัติ (TPD65)

อ, 12/04/2022 - 20:17 — admin2
รายละเอียด: 

หัวหน้าโครงการ : นายเอกรัฐ ชัยวีรสกุล กรรมการผู้จัดการ
คณะทำงานโครงการ (1) : ผศ.ดร.พิพัฒน์ ไพศาลภาณุมาศ ที่ปรึกษาโครงการ
คณะทำงานโครงการ (2) : นายมนต์ชัย เทียนทอง ที่ปรึกษาโครงการ
ชื่อสถานประกอบการผู้พัฒนา : บริษัท ไทเกอร์ รัน จำกัด

งบปี พ.ศ.: 
2565
    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
    ภาพหน้าปก: 

    เครื่องการจัดเรียงแบบอัตโนมัติ แบบประหยัดพื่นที่ (TPD65)

    อ, 12/04/2022 - 19:57 — admin2
    รายละเอียด: 

    หัวหน้าโครงการ : ว่าที่ร้อยตรี เจตนพรัตน์ สมผิว กรรมการผู้จัดการ
    คณะทำงานโครงการ (1) : นาย วิโรจน์ สิทธิพฤกษ์ ที่ปรึกษาโครงการ
    คณะทำงานโครงการ (2) : ผศ.ดร.พิพัฒน์ ไพศาลภาณุมาศ ที่ปรึกษาโครงการ
    ชื่อสถานประกอบการผู้พัฒนา : บริษัท อีเทอร์นอลไรส์ ออโตเมชั่น จำกัด  

    งบปี พ.ศ.: 
    2565
      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ภาพหน้าปก: 

      ระบบรีดผ้าอัตโนมัติ (TPD65)

      อ, 12/04/2022 - 19:29 — admin2
      รายละเอียด: 

      หัวหน้าโครงการ : ดร. สุรีรัตน์ แซ่ตั้ง
      คณะทำงานโครงการ (1) : รศ. ดร. สุชาติ แย้มเม่น
      คณะทำงานโครงการ (2) : นาย อธิศ ปทุมวรรณ
      คณะทำงานโครงการ (3) : นาย ศุภฤกษ์ กานต์ธิรากูล
      ชื่อสถานประกอบการผู้พัฒนา : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ที เจ ซัพพลาย 

      งบปี พ.ศ.: 
      2565
        แคตตาล็อกเทคโนโลยี
        ภาพหน้าปก: 

        สมาร์ทเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตมะเขือเทศด้วยระบบระบบอัตโนมัติ (TPD65)

        อ, 12/04/2022 - 19:17 — admin2
        รายละเอียด: 

        หัวหน้าโครงการ : นางสาวกนกนาถ สายทิพย์
        คณะทำงานโครงการ (1) : นาย พิมล ทัดศรี
        คณะทำงานโครงการ (2) : นายวรวุฒิ ชูศรี
        ชื่อสถานประกอบการผู้พัฒนา : บริษัทเทคอินเทลลิเจนซ์ จำกัด 

        งบปี พ.ศ.: 
        2565
          แคตตาล็อกเทคโนโลยี
          ภาพหน้าปก: 

          เครื่องบรรจุลำไยอบแห้งลงกล่องอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมแปรรูปลำไยอบแห้ง (TPD65)

          อ, 12/04/2022 - 18:13 — admin2
          รายละเอียด: 

          หัวหน้าโครงการ  : นายณัฐพงษ์ พุทธิกิตติพันธ์
          คณะทำงานโครงการ (1) : นายกลิ้ง กาญจนสุวรรณ
          ที่ปรึกษาด้านวิชาการ : อาจารย์ศุภกาล ตุ้ยเต็มวงศ์
          ชื่อสถานประกอบการผู้พัฒนา : บริษัท เอไอ อินดัสทรีส์ จำกัด 
          ชื่อสถานประกอบการ : บริษัท ปิยะมงคล เค.บี.เอเชี่ยนฟรุ๊ต จำกัด

          งบปี พ.ศ.: 
          2565
            แคตตาล็อกเทคโนโลยี
            ภาพหน้าปก: 

            แพลตฟอร์มระบบยืนยันตัวตนและจัดการสถานที่ด้วย AI อัจฉริยะ(AUS64)

            ศ, 09/04/2021 - 15:47 — bunsita
            รายละเอียด: 

                    จากสถานการณ์การแพร่กระจายอย่างรวดเร็วของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทั่วโลก มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทาให้ทุกประเทศประสบปัญหาทางด้านการรับมือและป้องกัน จากการระบาดรอบใหม่ที่เกิดขึ้นภายในประเทศ ส่งผลให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจ หลายองค์กรไม่สามารถหยุดงานได้จาเป็นต้องเปิดดาเนินกิจการแบบเต็มรูปแบบ ทำให้ต้องเข้มงวดในการคัดกรองพนักงาน หรือผู้ติดต่อจากภายนอกเพื่อป้องกันเหตุที่อาจส่งผลให้องค์กรต้องหยุดกระบวนการผลิตหรือส่งผลกระทบทั้งโรงงาน เช่น มาตรการกาจัดพื้นที่ของผู้ป่วยภายนอก มาตรการตรวจวัดอุณหภูมิ มาตรการเอกสารคัดกรอง บันทึกการเดินทางไปสถานที่ต่าง ๆ เป็นต้น ทำให้เวลาในการตรวจสอบประวัติและกรอกข้อมูลดังกล่าวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ แม้กระทั่งระบบการคัดกรองในปัจจุบันเองก็อาจเป็นแหล่งแพร่กระจายได้จากขั้นตอนการปฏิบัติงาน เช่น การแลกบัตร การเขียนกรอกเอกสารล้วนแล้วแต่เป็นความเสี่ยงที่อาจเกินขึ้นได้ จากเหตุผลที่กล่าวมาจึงมีแนวคิดในการพัฒนาแพลตฟอร์มระบบยืนยันตัวตนและจัดการสถานที่ด้วย AI อัจฉริยะ ลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายจากการปฏิบัติงานคัดกรอง โดยสามารถยืนยันตัวตน คัดกรองบุคคลที่จะเข้า-ออกองค์กร จำกัดพื้นที่ของบุคคลให้อยู่ในพื้นที่ที่กาหนดจากทางบริษัท เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากบุคคลภายนอกและภายใน ทำให้การทำงานสะดวกและมีประสิทธิภาพมากขึ้น และแพลตฟอร์มที่พัฒนาขึ้นยังสามารถนำไปปรับใช้กับงานด้าน Inspection ในโรงงานอุตสาหกรรมได้

             

            งบปี พ.ศ.: 
            2564
            ภาพประกอบ: 
            แพลตฟอร์มระบบยืนยันตัวตนและจัดการสถานที่ด้วย AI อัจฉริยะ(AUS64)
              แคตตาล็อกเทคโนโลยี
              ระดับ: 
              ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
              กลุ่มเป้าหมาย: 
              ประชาชนทั่วไป
              ภาพหน้าปก: 

              กระบวนการผลิตแบบสมาร์ท ในการพาสเจอไรซ์อุตสาหกรรมนม ด้วยระบบ SCADA & IIOT(AUS64)

              ศ, 09/04/2021 - 15:36 — bunsita
              รายละเอียด: 
                      การบริหารจัดการการผลิตให้มีประสิทธิภาพที่จะช่วยให้ผู้ประกอบการแต่ละราย สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ใช้ในการบริหารจัดการผลิตได้ด้วยตนเอง ด้วยฐานข้อมูลแบบเรียลไทม์ ขณะเดียวกันภาครัฐยังให้การส่งเสริมตามหลักเกษตร 4.0 ซึ่งเป็นแรงผลักดันให้ภาคเกษตรปรับตัวมาใช้เทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น
              ซึ่งในอุตสาหกรรมการแปรรูปน้านมดิบจากเกษตรกร ยังจาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ซึ่งกระบวนการฆ่าเชื้อหรือการเก็บรักษาคุณภาพของนมถือว่ามีความสาคัญ ปัจจุบันผลิตภัณฑ์นมพร้อมดื่มที่ผู้บริโภคนิยมบริโภค คือ การพาสเจอไรส์ ซึ่งกระบวนการผลิตนี้โดยทั่วไป คือ การควบคุมระดับอุณหภูมิให้มีความคงที่ ตามเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งกระบวนการผลิตในแต่ละครั้ง ก็มีปัญหาที่ทาให้ระบบการทางานนั้นเกิดความผิดพลาด ยกตัวอย่างเช่น
              1. อุปกรณ์ เกิดจากการใช้งานมานาน การสึกหร่อ ทาให้หน้าสัมผัสการทางานค้างหรืออุปกรณ์ชุดนั้นชารุดเกิดความเสียหาย
              2. ห้องแช่เย็น เมื่อทาการผลิตนมและทาการพาสเจอไรส์แล้ว จะต้องนาเอาผลิตภัณฑ์ไปเก็บรักษาไว้ในห้องแช่เย็น หากอุณหภูมินั้นมีการเปลี่ยนแปลง คุณภาพของนมนั้นอาจเสียหายได้ จึงมีความจาเป็นต้องมีการควบคุมระดับอุณหภูมิให้คงที่ตลอด 24 ชั่วโมง
              3. การเกิดปัญหาไฟฟ้าขัดข้องในพื้นที่ที่มีการผลิต อาจมีผลต่อขั้นตอนกระบวนการผลิต
              จากตัวอย่างปัญหาที่เกิดขึ้น ทาให้เราไม่สามารถตรวจเช็คได้หรือตรวจสอบปัญหานั้นได้ วิธีการแก้ไขปัญหา คือ สร้างวิธีการแจ้งเตือนขึ้นมา เช่น เมื่ออุณหภูมิภายในห้องแช่เย็น เกิดการเปลี่ยนแปลง ระบบจะทาการแจ้งเตือนในแบบใดได้บ้าง
               
                    ทางทีมผู้พัฒนาจึงคิดทาการต่อยอด ระบบที่สามารถแจ้งเตือนเมื่อเกิดปัญหา โดยแจ้งเตือนผ่านระบบโทรศัพท์หรือใน Application LINE การแก้ไขปัญหานี้สามารถใช้งานได้ง่าย ก็คืออาจจะติดตั้งเซ็นเซอร์จากภายนอกเครื่องจักร หรือวัดอุณหภูมิจากภายในห้อง เมื่ออุณหภูมิเกิดการเปลี่ยนแปลงสูงขึ้นเรื่อย ๆ หรือไม่ได้ค่าตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้หรือสูงกว่า ระบบจะทาการแจ้งเตือนกลับมาใน Application LINE ทันที ซึ่งในระบบนี้ จะทาการเพิ่มเติมการเก็บข้อมูลของการผลิต การ steam การแสดงสถานะ การแจ้งเตือน ของเครื่องจักรทั้งหมด เพื่อใช้ในการอ้างอิงถึงประสิทธิภาพการทางานของเครื่องจักร เพื่อนาค่าที่ได้กลับไปพัฒนาให้เครื่องนี้ สามารถทางานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
               
               

               

              งบปี พ.ศ.: 
              2564
              ภาพประกอบ: 
              กระบวนการผลิตแบบสมาร์ท ในการพาสเจอไรซ์อุตสาหกรรมนม ด้วยระบบ SCADA & IIOT(AUS64)
                แคตตาล็อกเทคโนโลยี
                ระดับ: 
                ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
                กลุ่มเป้าหมาย: 
                ภาคอุตสาหกรรม
                ภาพหน้าปก: 

                เครื่องจ่ายสารละลายด้วยเทคโนโลยีแบบ Inline Injection(AUS64)

                ศ, 09/04/2021 - 15:23 — bunsita
                รายละเอียด: 
                       พัฒนาเครื่อง Fertigation แบบ Inline-injection ให้จ่ายสารละลายได้แม่นยำมากยิ่งขึ้น ด้วยการควบคุมการจ่ายสารละลายตาม demand ที่พืชต้องการในขณะนั้น โดยนำเอาข้อมูลเชิงวิชาการในเรื่องของ photosynthesis ที่ได้มาจาก Sensors ต่างๆ มาประมวลผล วัดค่าความต้องการน้ำของพืชแบบ real time. ทำให้เครื่องสามารถจ่ายสารละลายตามปริมาณการสังเคราะห์แสงของพืชในแต่ละวันที่ เพื่อไห้การจ่ายน้ำนั้นเป็นไปความความต้องการของพืชอย่างแม่นยำมากยิ่งขึ้น ส่งผลไห้ ลดการเกิดโรค,การไห้น้ำมากเกินไป,และลดต้นทุนค่าปุ๋ย ได้อย่างมาก. โดยเครื่องจ่ายสารละลาย 1 เครื่องสามารถ ควบคุมการจ่ายสารละลายไปยังแปลงปลูกพืช หรือ โรงเรือนได้ถึง 8 โรงเรือน และสามารถผสมสารหรือสูตรปุ๋ยได้มากสุดถึง 8สาร ซึ่งโดยปกติแล้วเกษตรต้องนำเข้าเทคโนโลยีดังกล่าวมาจากต่างประเทศ และมีความซับซ้อนสูง ใช้งานยาก ทางบริษัทจึงเร่งเห็นความสำคัญของการยกระดับเทคโนโลยีด้านเกษตรอุตสาหกรรมในประเทศ เพื่อทดแทนการนำเข้าเทคโนโลยี และให้เกษตรไทยสามารถเข้าถึงเทคโนโลยี Fertigation ได้ง่ายขึ้น
                 

                งบปี พ.ศ.: 
                2564
                ภาพประกอบ: 
                เครื่องจ่ายสารละลายด้วยเทคโนโลยีแบบ Inline Injection(AUS64)
                  แคตตาล็อกเทคโนโลยี
                  ระดับ: 
                  ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
                  กลุ่มเป้าหมาย: 
                  เกษตรกร
                  ภาพหน้าปก: 

                  การพัฒนาต่อยอดสร้างเครื่องคัดแยกคุณภาพลำไยอบแห้ง ด้วยเทคโนโลยี Machine Vision(AUS64)

                  จ, 05/04/2021 - 15:56 — bunsita
                  รายละเอียด: 

                   ในโครงการนี้เป็นการพัฒนาสร้างเครื่องคุณภาพลำไยอบแห้งทั้งเปลือก ด้วยเทคโนโลยี Machine Vision ขึ้นมาใหม่ เพื่อใช้งานในอุตสาหกรรมลำไยอบแห้งทั้งเปลือก โดยเป็นการพัฒนาต่อยอดจากเครื่องเดิม ในด้านต่างๆดังนี้

                  - ด้านการออกแบบกลไกทางวิศวกรรม เพื่อให้ได้รูปแบบโครงสร้าง อุปกรณ์ และลักษณะกำรทำงานใหม่ ที่ทำให้ประสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มขึ้น (เร็วขึ้น) มีความคงทน กำรติดตั้งและซ่อมบำรุงทำได้สะดวก

                  - ด้านการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อควบคุมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างการส่งคำสั่งจากซอฟต์แวร์ไปควบคุมระบบกลไก ให้เป็นไปอย่างอัตโนมัติ

                  - ด้านการออกแบบซอฟต์แวร์ เพื่อใช้ประมวลผลภาพในการคัดแยกลำไยอบแห้งให้มีความแม่นยำเพิ่มขึ้น

                   

                   

                  งบปี พ.ศ.: 
                  2564
                  ภาพประกอบ: 
                  การพัฒนาต่อยอดสร้างเครื่องคัดแยกคุณภาพลำไยอบแห้ง ด้วยเทคโนโลยี Machine Vision(AUS64)
                    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
                    ระดับ: 
                    ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
                    กลุ่มเป้าหมาย: 
                    ภาคอุตสาหกรรม
                    ภาพหน้าปก: 

                    เครื่องควบคุมความตึงเทปแบบอัตโนมัติ(AUS64)

                    จ, 05/04/2021 - 14:57 — bunsita
                    รายละเอียด: 

                    ปัจจุบันการควบคุม Torque จะทำการผลิตไปทีละชนิดของเทป ซึ่งบางชนิดมีปริมาณในกำรสั่งผลิตเพื่อจำหน่ายไม่เท่ากัน บางชนิดและบางขนาด ก็ผลิตไม่ทันตามความต้องการของลูกค้า ส่งผลให้บริษัทจำเป็นต้องมีการเพิ่มชั่วโมงในการทำงาน จากวันละ 8 ชม. เป็นการเพิ่มโอที 12 ชม. ในบางวันที่มียอดกำรสั่งผลิตเป็นจำนวนมาก ทำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น พนักงานเกิดความเหนื่อยล้าจากการทำงาน ต้องคอยนั่งควบคุมเครื่องจักรตลอดเวลา สินค้าเกิดความเสียหายอันเนื่องจากการผลิตที่ควบคุมความตึงไม่ได้ตามกำหนด ของเสียที่เกิดจากการผลิต ไม่แน่นตำมกำหนด และย่น เกิดความเสียหาย กว่า 40 % ทำให้ลูกค้าเกิดต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นมาก

                    แนวทางในการแก้ปัญหา
                    การพัฒนำขบวนการผลิตจะเป็นการพัฒนาเครื่องจักรให้มีความสะดวกสบายในการใช้งานในการกรอเทป ด้วยเครื่องกรอเทป ให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วขึ้น โดยพัฒนาจากเครื่องพื้นฐานเดิมที่ใช้งานอยู่นาพัฒนาชุดควบคุม Torque (ความตึงเทป) แบบอัตโนมัติ

                    งบปี พ.ศ.: 
                    2564
                    ภาพประกอบ: 
                    เครื่องควบคุมความตึงเทปแบบอัตโนมัติ(AUS64)
                      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
                      ระดับ: 
                      ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
                      กลุ่มเป้าหมาย: 
                      ภาคอุตสาหกรรม
                      ภาพหน้าปก: 
                      เนื้อหาแหล่งข่าว