โครงการพัฒนาเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ เพื่อการผลิตระดับชุมชน (RID)

โครงการพัฒนาประดิษฐกรรมเพื่อชนบท (ชื่อเดิม)

เครื่องคั้นน้ำส้มอัตโนมัติแบบจานหมุน

อา, 14/10/2012 - 15:27 — admin3
รายละเอียด: 

นักวิจัย/สถาบัน

งบปี พ.ศ.: 
2549
    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
    ภาพหน้าปก: 

    ถังเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชด้วยระบบหลอดไฟฟ้าอัตโนมัติ

    อา, 14/10/2012 - 15:27 — admin5
    รายละเอียด: 

    นักวิจัย/สถาบัน นายปภัศร์ชกรณ์ อารีย์กุล สาขาเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง 179 ม.3 ต.ไม้ฝาด อ.สิเกา จ.ตรัง 92150

    งบปี พ.ศ.: 
    2555
    ภาพประกอบ: 
    ถังเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชด้วยระบบหลอดไฟฟ้าอัตโนมัติ
    ถังเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชด้วยระบบหลอดไฟฟ้าอัตโนมัติ
      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ภาพหน้าปก: 

      เครื่องพาสเจอร์ไรซ์และบรรจุไวน์และน้ำผักผลไม้กึ่งอัตโนมัติประหยัดพลังงาน

      อา, 14/10/2012 - 15:26 — admin3
      รายละเอียด: 

      นักวิจัย/สถาบัน

      งบปี พ.ศ.: 
      2549

      เอกสารประกอบ

      เอกสารเผยแพร่: 
      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ภาพหน้าปก: 

      เครื่องผลิตหนวดดอกไม้จันทน์

      อา, 14/10/2012 - 15:26 — admin5
      รายละเอียด: 

      นักวิจัย/สถาบัน นายฉัตรชัย โกสุม วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย ต.โคกงาม อ.ด่านซ้าย จ.เลย 42120

      งบปี พ.ศ.: 
      2555

      เอกสารประกอบ

      เอกสารเผยแพร่: 
      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ภาพหน้าปก: 

      เครื่องอบแห้งวัสดุผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดสำหรับชุมชนด้วยระบบสุญญากาศจากปั๊มหัวฉีดน้ำแรงดันสูง

      อา, 14/10/2012 - 15:25 — admin3
      รายละเอียด: 

      นักวิจัย/สถาบัน

      งบปี พ.ศ.: 
      2549
        แคตตาล็อกเทคโนโลยี
        ภาพหน้าปก: 

        เครื่องบรรจุและปิดผนึกซองคู่พริกป่นและน้ำตาลด้วยฟิล์มพลาสติก

        อา, 14/10/2012 - 15:25 — admin5
        รายละเอียด: 

        เครื่องบรรจุและปิดผนึกซองคู่พริกป่นและน้ำตาลด้วยฟิล์มพลาสติก

        ที่มาและความสำคัญ
        ปัจจุบันเครื่องบรรจุและปิดผนึกเครื่องปรุงแบบซองคู่ที่มีจำหน่ายและใช้งานอยู่ยังมีราคาสูง ทำให้กลุ่ม OTOP หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชน สูญเสียโอกาสในการส่งผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพออกจำหน่ายในตลาด ดังนั้นการพัฒนาเครื่องบรรจุและปิดผนึกซองคู่พริกป่นและน้ำตาลด้วยฟิล์มพลาสติก ที่มีหลักการทำงานง่ายๆ ไม่ซับซ้อน จึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถเพิ่มโอกาสให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีความหลากหลายในการแข่งขัน และสามารถผลิตสินค้าจำหน่ายในชุมชนพื้นที่ใกล้เคียงได้มากขึ้น

        คุณลักษณะ
        ส่วนประกอบสำคัญของเครื่อง
        1. ส่วนบรรจุ มี 2 กรวย สำหรับบรรจุพริกป่น(1.26 กรัม/ซอง) และน้ำตาล(5.12 กรัม/ซอง)
        2. ส่วนตวง มีใบปิด/เปิดช่องตวง เพื่อเติมพริกป่นและน้ำตาลตามปริมาณที่ต้องการ
        3. ส่วนปิดผนึก มีชุดห่อฟิล์มพลาสติก ชุดฮีทเตอร์ปิดผนึกในแนวตั้งและแนวนอน ชุดตัดฟิล์ม
        4. ส่วนตึงฟิล์ม มีแกนเพลาใส่ม้วนฟิล์ม และชุดลูกกลิ้งตึงฟิล์มก่อนลำเลียงสู่ชุดปิดผนึก
        ขั้นตอนการทำงาน เริ่มจากใส่น้ำตาลและพริกป่นในกรวยเติม แล้วดึงแผ่นฟิล์มพลาสติกเข้าสู่ชุดปิดผนึก ถาดหมุนจะปล่อยปริมาณน้ำตาลและพริกลงไปในซองพลาสติก ด้วยระบบการทำงานแบบอัตโนมัติ เครื่องจะทำการปิดผนึกและบรรจุ ระบบหมุนของชุดปิดผนึกจะดึงซองคู่ที่บรรจุสำเร็จแล้วไปยังใบมีดตัด เพื่อทำการตัดแยกชิ้นซองคู่ เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการปิดผนึกและบรรจุ

        กำลังการผลิตของเครื่อง / กำลังไฟฟ้าที่ใช้
        - สามารถบรรจุและปิดผนึกได้ 2,180 ซอง/ชั่วโมง

        ขนาดและน้ำหนักของเครื่อง
        - ขนาดของเครื่อง 55 x 70 x 154 เซนติเมตร, น้ำหนักของเครื่อง 120 กิโลกรัม

        ราคาเครื่องเชิงพาณิชย์
        เครื่องละ 100,000 บาท

        หัวหน้าโครงการ
        นายอนินท์ มีมนต์
        คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
        39 หมู่ที่ 1 ตำบลคลองหก อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110

        งบปี พ.ศ.: 
        2553
          แคตตาล็อกเทคโนโลยี
          ภาพหน้าปก: 

          เครื่องเตรียมดินสำหรับนาดำ

          อา, 14/10/2012 - 15:22 — admin5
          รายละเอียด: 

          เครื่องเตรียมดินสำหรับนาดำ

          ที่มาและความสำคัญ
          การปลูกข้าวนาดำ เป็นวิธีการปลูกที่ให้ผลผลิตสูง ซึ่งเกษตรกรต้องอาศัยเครื่องเตรียมดินสำหรับการปรับสภาพพื้นดินให้เหมาะกับการปลูกข้าวนาดำ โดยเครื่องเตรียมดินสำหรับนาดำที่เกษตรกรใช้อยู่ทั่วไปนั้น ยังปั่นดินได้ไม่ละเอียดจึงต้องวิ่งซ้ำกันหลายรอบทำให้สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิงมาก จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดความล้าช้าและมีต้นทุนในการผลิตสูง ดังนั้นการพัฒนาเครื่องเตรียมดินสำหรับนาดำที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นแนวทางหนึ่งในการประหยัดต้นทุนของการทำนาดำ

          ลักษณะของเครื่อง

          เครื่องเตรียมดินสำหรับนาดำ เพื่อติดตั้งกับรถไถแบบนั่งขับขนาด 34 แรงม้า มีขนาดหน้ากว้าง 200 เซนติเมตร การใช้งานเกษตรกรต้องมีการเตรียมแปลงนาก่อนโดยผ่านการไถดะ ไถแปร เพื่อกำจัดวัชพืชและย่อยดินให้มีขนาดเล็กก่อนแล้วจึงใช้เครื่องเตรียมดินสำหรับนาดำ โดยการไถเพียง 1 รอบ ก็สามารถเตรียมดินสำหรับปักดำต้นกล้าได้
          ส่วนประกอบสำคัญของเครื่อง (1) จุดยึดกับท้ายรถไถแบบนั่งขับจำนวน 3 จุด (2) ลูกกลิ้งตัวใหญ่ ทำหน้าที่ย่อยดิน (3) ลูกกลิ้งตัวเล็ก ทำหน้าที่ช่วยย่อยดินให้ละเอียด (4) คราด ทำหน้าที่ช่วยปรับหน้าดิน การทำงานรถไถจะเป็นต้นกำลังในการลากจูงเครื่องเตรียมดำสำหรับนาดำ ขณะที่ทำการลากจูงด้วยความเร็ว 3.2 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ลูกกลิ้งตัวใหญ่จะทำหน้าที่เป็นต้นกำลัง เพื่อให้ลูกกลิ้งตัวเล็กกลิ้งตามด้วยชุดถ่ายทอดกำลัง (5) เป็นชุดอัตราทดที่ทำการถ่ายทอดด้วยโซ่ จากลูกกลิ้งตัวใหญ่สู่ ลูกกลิ้งตัวเล็ก จากนั้นคราด (8) ก็จะทำการกระจายดินและเกลี่ยดินจากที่สูงไปสู่ที่ต่ำกว่าด้วยไม้ (6) ที่ติดบนสันของคราด ซึ่งคราดจะสามารถปรับระดับการเกลี่ยดินตามสภาพพื้นที่ด้วย (7) ถ้าหากพื้นที่ที่มีความแข็งอ่อนต่างกันมาก

          ประสิทธิภาพ
          - ความสามารถในการเตรียมดิน 18 นาที/ไร่

          ขนาดและน้ำหนักของเครื่อง
          - 2.2 X 1.60 X 1.25 เมตร, น้ำหนักของเครื่อง 280 กิโลกรัม

          ราคาเครื่องเชิงพานิชย์
          เครื่องละ 45,000 บาท

          หัวหน้าโครงการ
          นายณรงค์ หูชัยภูมิ
          คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
          199 หมู่ที่ 3 ถนนพังโคน-วาริชภูมิ อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร 47160

          งบปี พ.ศ.: 
          2553
            แคตตาล็อกเทคโนโลยี
            ภาพหน้าปก: 

            เครื่องขัดเมือกกาแฟ รุ่นที่ 2

            อา, 14/10/2012 - 15:21 — admin3
            รายละเอียด: 

            นักวิจัย/สถาบัน

            งบปี พ.ศ.: 
            2549

            เอกสารประกอบ

            เอกสารเผยแพร่: 
            แคตตาล็อกเทคโนโลยี
            ภาพหน้าปก: 

            เครื่องเทอร์โมฟอร์มมิ่งเพื่อใช้ผลิตภาชนะบรรจุภัณฑ์ในกระบวนการผลิตข้าวแต๋น

            อา, 14/10/2012 - 15:21 — admin5
            รายละเอียด: 

            ที่มาและความสำคัญ:
            การผลิตภาชนะบรรจุผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นที่ผู้ประกอบการสามารถกำหนดรูปร่าง หรือปรับเปลี่ยนขนาดของแม่พิมพ์ตามความต้องการได้ รวมถึงการสร้างตราสัญญาลักษณ์หรือเครื่องหมายการค้าของผู้ประกอบการเองลงบนภาชนะบรรจุได้ นอกจากจะสามารถป้องกันความเสียหายจากการกระแทกแล้ว ยังเป็นการพัฒนาภาชนะบรรจุภัณฑ์ข้าวแต๋นให้มีความหลากหลาย ช่วยสร้างเอกลักษณ์เฉพาะตัวสินค้าของผู้ประกอบการเอง เพื่อดึงดูดความสนใจและง่ายต่อการจดจำของผู้บริโภคได้มากขึ้น

            ลักษณะของเครื่อง:
            เครื่องเทอร์โมฟอร์มมิ่ง ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ ส่วนควบคุมอุณหภูมิ ส่วนควบคุมระบบสุญญากาศ ส่วนควบคุมชุดขึ้นรูป 1, 2 ส่วนควบคุมการทำงานพื้นฐาน โดยการทำงานเริ่มจากแผ่นพลาสติกถูกเลื่อนมายังแม่พิมพ์ในชุดขึ้นรูป จังหวะเดียวกัน Heater เลื่อนมาให้ความร้อนในชุดขึ้นรูป 1 , 2 (ที่ละชุด) จากนั้นจะถูกดูดสุญญากาศภายในแม่พิมพ์ตามลำดับ ซึ่งชิ้นงานที่ขึ้นรูปแล้วจะถูกเลื่อนให้พ้นจากแม่พิมพ์ พร้อมกับนำแผ่นพลาสติกชุดใหม่เข้ามาขึ้นรูปต่อไป
            ส่วนควบคุมชุดขึ้นรูปกออกแบบให้สามารถปรับเปลี่ยนแม่พิมพ์ได้อย่างหลากหลายตามความต้องการของผู้ประกอบการโดยใช้ระบบชุดยกแม่พิมพ์เดียวกัน

            กำลังการผลิตของเครื่อง
            สามารถขึ้นรูปภาชนะบรรจุภัณฑ์ข้าวแต๋นได้ 1,920 ชิ้นงาน/วัน

            ขนาดและน้ำหนักเครื่อง :
            60 x 102 x 170 เซนติเมตร ,น้ำหนัก 450 กิโลกรัม

            ราคาเครื่องเชิงพาณิชย์ :
            เครื่องละ 366,000 บาท

            หัวหน้าโครงการ
            นายนเรศ อินต๊ะวงค์
            คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
            128 ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300

            งบปี พ.ศ.: 
            2553
              แคตตาล็อกเทคโนโลยี
              ภาพหน้าปก: 

              เครื่องมือแปรรูปอาหารจากสาหร่ายไก (ชุด 2)

              อา, 14/10/2012 - 15:19 — admin3
              รายละเอียด: 

              นักวิจัย/สถาบัน

              งบปี พ.ศ.: 
              2549
                แคตตาล็อกเทคโนโลยี
                ภาพหน้าปก: 
                เนื้อหาแหล่งข่าว