ชลบุรี

ระบบติดตามการทำงานและประเมินสภาพความสั่นสะเทือนของเครื่องจักรอัตโนมัติด้วยระบบ IoT (AUS66)

พฤ, 28/09/2023 - 11:30 — admin3
รายละเอียด: 

ผู้พัฒนา
ศูนย์เทคโนโลยีการผลิตอัตโนมัติและหุ่นยนต์ สถาบันไทย-เยอรมัน
ที่อยู่ 700/1 หมู่ 1 ถ.บางนา-ตราด กม.57 คลองตำหรุ อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000

งบปี พ.ศ.: 
2566
    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
    ระดับ: 
    ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
    กลุ่มเป้าหมาย: 
    ภาคอุตสาหกรรม
    ภาพหน้าปก: 

    เครื่องตัดผ้าอัจฉริยะ (AUS66)

    พฤ, 28/09/2023 - 11:25 — admin3
    รายละเอียด: 

    ผู้พัฒนา
    อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิสถาบันไทย-เยอรมัน
    ที่อยู่ 700/1 หมู่ 1 นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ชลบุรี ถ.บางนา-ตราด กม.57 ต.คลองตำหรุ อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000

    งบปี พ.ศ.: 
    2566
      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ระดับ: 
      ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
      กลุ่มเป้าหมาย: 
      ภาคอุตสาหกรรม
      ราคาเครื่องจักร: 
      1200000
      ภาพหน้าปก: 

      ระบบการจัดการฟาร์มกุ้งคอนโดโดยใช้เทคโนโลยีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำแม่นยำ (AUS66)

      อ, 26/09/2023 - 16:00 — admin3
      รายละเอียด: 

      ผู้พัฒนา
      บริษัท เทคอินเทลลิเจนซ์ จำกัด
      ที่อยู่ 22/464 ซอย 29/3 หมู่ที่ 4 ถนนหนองแขวะ ตำบลบึง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230

      งบปี พ.ศ.: 
      2566
        แคตตาล็อกเทคโนโลยี
        ระดับ: 
        จำหน่ายเชิงพาณิชย์
        กลุ่มเป้าหมาย: 
        ภาคอุตสาหกรรม
        ราคาเครื่องจักร: 
        150000
        ภาพหน้าปก: 

        หุ่นยนต์ขนส่งอัตโนมัติ (AGV&AMR)

        ศ, 11/11/2022 - 10:38 — admin5
        รายละเอียด: 

        รางวัลเทคโนโลยียอดเยี่ยมด้านเครื่องจักรและอุปกรณ์ ประจำปี 2565
        รางวัลที่ 2
        สาขาการผลิตในเชิงอุตสาหกรรม
        ชื่อโครงการ "หุ่นยนต์ขนส่งอัตโนมัติ AGV & AMR"
        ผู้พัฒนา บจก.ทริปเปิ้ล เอ เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ ซัพพลาย
        ที่อยู่ 19/9 ม.1 ต.หนองรี อ.เมืองชลบุรี
        ติดต่อ 038-798-529 , 038-205-051 มือถือ 062-651-9499
        เว็ปไชต์ www.3a.co.th

        งบปี พ.ศ.: 
        2565
          แคตตาล็อกเทคโนโลยี
          ภาพหน้าปก: 

          หุ่นยนต์แขนกลอุตสาหกรรม ยูนิบอต

          ศ, 11/11/2022 - 10:32 — admin5
          รายละเอียด: 

          ผู้พัฒนา บริษัท ยูนิคัล เวิร์คส์ จำกัด

          97,99 ม.4 ต.มาบโป่ง อ.พานทอง 

          งบปี พ.ศ.: 
          2565
            แคตตาล็อกเทคโนโลยี
            ภาพหน้าปก: 

            สมาร์ทเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตมะเขือเทศด้วยระบบระบบอัตโนมัติ (TPD65)

            อ, 12/04/2022 - 19:17 — admin2
            รายละเอียด: 

            หัวหน้าโครงการ : นางสาวกนกนาถ สายทิพย์
            คณะทำงานโครงการ (1) : นาย พิมล ทัดศรี
            คณะทำงานโครงการ (2) : นายวรวุฒิ ชูศรี
            ชื่อสถานประกอบการผู้พัฒนา : บริษัทเทคอินเทลลิเจนซ์ จำกัด 

            งบปี พ.ศ.: 
            2565
              แคตตาล็อกเทคโนโลยี
              ภาพหน้าปก: 

              ระบบหุ่นยนต์มือจับชิ้นงานอัจฉริยะแบบอ่อนนุ่มสำหรับแล็บทางการแพทย์ AUS 63

              จ, 22/03/2021 - 09:56 — admin5
              รายละเอียด: 

              จากสถานการณ์วิกฤตการแพร่ระบาดใหญ่ทั่วโลกของไวรัส COVID-19 ที่ทั่วทั้งโลกต้องเผชิญกับวิกฤตหลายด้านทั้งการสาธารณสุขการถดถอยทางเศรษฐกิจ รวมถึงวิถีการใช้ชีวิตของผู้คนที่ต้องปรับเปลี่ยนไปให้รับกับสถานการณ์การแพร่ระบาดใหญ่ในรอบ 100 ปี ของโลก ประเทศไทยจึงยังต้องปรับตัวโดย การสร้างความเข้มแข็งจากภายใน เชื่อมไทยสู่ประชาคมโลก ควบคู่กับการใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มีหลักคือ พอประมาณ มีเหตุผล และ มีภูมิคุ้มกัน ซึ่งภาคส่วนที่ได้รับผลกระทบโดยตรงคงหนีไม่พ้นด้านการแพทย์และสาธารณะสุข และเนื่องจากในปัจจุบันการนำแขนกลหุ่นยนต์มาใช้เพื่อยกระดับระบบออโตเมชั่นในงานต่างๆได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ และยังสามารถนำมาใช้ไม่เพียงในงานอุตสาหกรรมการผลิตเท่านั้นแต่ในงานบริการและงานด้านการวิจัยทางการแพทย์ได้ด้วยเช่นกัน ประโยชน์ของการใช้ระบบออโตเมชั่นและหุ่นยนต์คือความแม่นยำและความคงที่ของการปฏิบัติงาน ช่วยให้งานที่ได้รับมีคุณภาพสูงขึ้นและลดความผิดพลาดของการปฏิบัติงาน และสามารถลดการทำงานที่ซ้ำๆของมนุษย์ลงและไปทำงานชนิดอื่นที่สร้างมูลค่าได้มากกว่า ลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายโรคและการหยุดชะงักของการปฏิบัติงานเนื่องจากขาดคนปฏิบัติงานในสภาวะที่มีโรคระบาดอีกด้วย ในประเทศไทยงานหยิบจับสิ่งของหรือชิ้นส่วนต่างๆตามห้องทดลองทางการแพทย์ ห้องจัดเก็บสารเคมีนั้นปัจจุบันยังใช้มนุษย์เป็นผู้หยิบจับเนื่องจากอุปกรณ์หยิบจับที่มีในท้องตลาดยังขาดความยืดหยุ่น กล่าวคือ ชิ้นงานต่างๆจำเป็นต้องมีอุปกรณ์ในการหยิบจับเฉพาะชิ้นซึ่งไม่สามารถใช้ร่วมกันได้โดยง่าย ทำให้ยากต่อการเปลี่ยนมาใช้ระบบอัตโนมัติอย่างสมบูรณ์ มีข้อจำกัดที่ต้องเปลี่ยนเครื่องมือไปมาหรือยังต้องใช้มนุษย์เข้ามาร่วมทำงาน จึงเป็นที่มาความต้องการสร้างระบบหุ่นยนต์มือจับชิ้นงานอัจฉริยะแบบอ่อนนุ่มสำหรับแล็บทางการแพทย์ (IGR) มาใช้เพื่อแก้ปัญหาข้างต้น โดยระบบสามารถหยิบจับชิ้นงานได้หลายลักษณะและรูปทรง อีกทั้งวัสดุอ่อนนุ่มยังช่วยป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดจากการชนหรือขูดระหว่างชิ้นงานและอุปกรณ์หยิบจับ   ไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน นอกจากนั้นยังสามารถควบคุมรูปทรงของการบีบและแรงในการบีบได้เป็นผู้หยิบจับเนื่องจากอุปกรณ์หยิบจับที่มีในท้องตลาดยังขาดความยืดหยุ่น กล่าวคือ ชิ้นงานต่างๆจำเป็นต้องมีอุปกรณ์ในการหยิบจับเฉพาะชิ้นซึ่งไม่สามารถใช้ร่วมกันได้โดยง่าย ทำให้ยากต่อการเปลี่ยนมาใช้ระบบอัตโนมัติอย่างสมบูรณ์ มีข้อจำกัดที่ต้องเปลี่ยนเครื่องมือไปมาหรือยังต้องใช้มนุษย์เข้ามาร่วมทำงาน จึงเป็นที่มาความต้องการสร้างระบบหุ่นยนต์มือจับชิ้นงานอัจฉริยะแบบอ่อนนุ่มสำหรับแล็บทางการแพทย์ (IGR) มาใช้เพื่อแก้ปัญหาข้างต้น โดยระบบสามารถหยิบจับชิ้นงานได้หลายลักษณะและรูปทรง อีกทั้งวัสดุอ่อนนุ่มยังช่วยป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดจากการชนหรือขูดระหว่างชิ้นงานและอุปกรณ์หยิบจับ   ไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน นอกจากนั้นยังสามารถควบคุมรูปทรงของการบีบและแรงในการบีบได้ 

               

              งบปี พ.ศ.: 
              2563
                แคตตาล็อกเทคโนโลยี
                ระดับ: 
                ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
                กลุ่มเป้าหมาย: 
                ภาคอุตสาหกรรม
                ภาพหน้าปก: 

                หุ่นยนต์สนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์สำหรับพื้นที่ควบคุมพิเศษภายในโรงพยาบาล “STACK” AUS 63

                ศ, 19/03/2021 - 10:59 — admin5
                รายละเอียด: 

                สืบเนื่องจากปัจจุบัน วิกฤติการ โรคติดต่อ COVID-19 เป็น ภัยคุกคามที่แพร่กระจ่ายได้อย่างรวดเร็ว และกระจายตัวเป็นวงกว้างในทั่วโลก ปัจจุบันมีผู้ติดเชื้อไปแล้ว กว่า ล้าน คน และ เสียชิวิตลง จากการติดเชื้อดังกล่าว ไปแล้ว หลักแสนคน   ในทั่วโลก แต่ละประเทศ หน่วยงาน หรือ บุคลากร กลุ่มแรกที่เข้าช่วยเหลือ ยับยั้ง และรักษา ผู้ติดเชื้อ นั้น คือกลุ่มบุคลากร ด้านการแพทย์ ที่มีส่วนร่วม ตั้งแต่ เจ้าหน้าที่ตรวจคัดกรอง  เจ้าหน้าที่นำส่ง  แพทย์ผู้ให้การรักษา และหน่วยงานสนับสนุนต่าง ๆ ภายใน สถานพยาบาลทุกคน

                ด้วยเหตุนี้ กลุ่มบุคลากร ด้านการแพทย์ ที่เกี่ยวข้องทุกคน ที่ทำหน้าที่เป็นแนวหน้า ในการต่อสู้กับโลกระบาดในครั้งนี้ ถือว่า เป็นกลุ่มคนที่มีความสำคัญ ต่อสถานการณ์ โรคระบาด ในปัจจุบันเป็นอย่างยิ่ง มีผลต่อการ เพิ่มหรือลดลง ของผู้ป่วยในแต่ละวัน และ ยังเป็นกลุ่มคน ที่มีความเสี่ยง สูงที่สุดอีกด้วย หาก บุคลากรเหล่านี้ เกิดพลาด พลั้ง ติดเชื้อขึ้นมา แม้เพียง 1 คน ก็ตาม จะส่งผลให้บุคคล รอบข้างที่ใกล้ชิด ต้องอยู่ใน ข่าย ผู้ต้องสงสัย ที่จะติดเชื้อไปด้วยทันที  ด้วยมาตรการควบคุมโรค ระบาด จำเป็นอย่างมาก ที่ต้องกัก ตัวบุคลากร ใกล้ชิดผู้ป่วยเพื่อเฝ้าดู อาการใน 14 วัน ทำให้สัดส่วนผู้ติดเชื้อ ต่อ บุคลากร ทางการแพทย์ มีอัตราส่วน ที่ห่าง กันยิ่งขึ้น

                ฉนั้นผู้เสนอโครงการจึงเห็นว่า หาก มีอุปกรณ์ ที่สามารถลดความเสี่ยงที่จะเกิด กับบุคลากรทางการแพทย์ได้ ก็สามารถจะเพิ่ม โอกาสในการรักษา และต่อสู้กับโรคระบาดในปัจจุบันได้อย่างเต็มประสิทธิภาพของบุคลากรทางการแพทย์ ทุกคน ด้วยการลดกิจกรรมที่ มีความเสี่ยงที่จะเกิดการติดเชื้อ เช่น การพูดคุยกับผู้ป่วยเพื่อซักถาม อาการป่วย  การนำส่งยา การนำส่งสิ่งของ หรือปัจจัยพื้นฐาน ให้แก่ผู้ป่วย ร่วมถึงการ ฆ่าเชื้อในห้องกักกัน หากกิจกรรมพื้นฐาน เหล่านี้ถูกทดแทนได้ด้วยหุ่นยนต์ เราจะสามารถลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับบุคลากรทางการแพทย์ได้

                ผู้เสนอโครงการจึงเสนอ หุ่นยนต์สนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์สำหรับพื้นที่ควบคุมพิเศษภายในโรงพยาบาล “STACK”เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยเหลือบุคลากรทางการแพทย์ ลดความเสี่ยงที่จะติดเชื้อในการปฏิบัติหน้าที่

                งบปี พ.ศ.: 
                2563
                  แคตตาล็อกเทคโนโลยี
                  ระดับ: 
                  จำหน่ายเชิงพาณิชย์
                  กลุ่มเป้าหมาย: 
                  ภาคอุตสาหกรรม
                  ราคาเครื่องจักร: 
                  650000
                  ภาพหน้าปก: 

                  เครื่องปอกเปลือกสับปะรด(VCE60)

                  พ, 04/10/2017 - 14:38 — admin5
                  รายละเอียด: 

                             โครงการการพัฒนาเครื่องปอกเปลือกสัปปะรด

                  Development of a Pine Apple Peeler

                     

                                                  พัฒนาผลิตเครื่องปอกเปลือกสับปะรดที่สามารถทำการปอกเปลือกสับปะรดได้กับทุกขนาดของสัปปะรดโดยใช้ระบบ Automation เข้ามาช่วยในการทำงานกล่าวคือการนำกระบวนการคัดขนาดเข้ามารวมด้วยกับเครื่องปอกเปลือกฯ และจะพัฒนาให้เครื่องปอกเปลือกฯดังกล่าวมีรูปแบบที่เป็นมาตรฐานตามมาตรฐานสากลในรูปแบบของเครื่องจักรกลในการผลิตอาหารที่ถูกต้องสุขลักษณะออกจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ โดยต้องการพัฒนาเครื่องปอกเปลือกสับปะรดดังกล่าวให้มีขนาดที่เหมาะสมต่อการใช้งานกับตลาดงานบรรจุกระป๋องของประเทไทย ทั้งนี้บริษัทฯ ต้องการพัฒนาให้เครื่องปอกเปลือกสับปะรดดังกล่าวมีความแข็งแรง กะทัดรัด และสวยงาม ตลอดจนสามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัย

                   

                   

                  งบปี พ.ศ.: 
                  2560

                  เอกสารประกอบ

                  แคตตาล็อกเทคโนโลยี
                  ระดับ: 
                  ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
                  กลุ่มเป้าหมาย: 
                  ภาคอุตสาหกรรม
                  ราคาเครื่องจักร: 
                  1500000
                  ภาพหน้าปก: 
                  เนื้อหาแหล่งข่าว