ยางและผลิตภัณฑ์
เครื่องตัดกรีดกลับยางรถยนต์เพื่อทำกระถางปลูกต้นไม้
ผู้พัฒนา
เอกสารประกอบ
เครื่องรีโอมิเตอร์แบบดายเคลื่อนที่สำหรับทดสอบสมบัติการคงรูปของสารประกอบยาง (TPD)
ผู้พัฒนา
นายรักพงษ์ สมบูรณ์
กรรมการผู้จัดการ
บริษัท เอ็นแมช จำกัด
เอกสารประกอบ
เครื่องตัดยางเพื่อทำเม็ดยางสำหรับสร้างพื้นลู่-ลานกรีฑา สนามกีฬาและลานเอนกประสงค์
ผู้พัฒนา : สมาคมเครื่องจักรกลไทย
ผู้ประกอบการที่ร่วมโครงการ : บริษัท ที.ซี.เอ็ม เอ็นไวรอนเม้นท์ จำกัด
เอกสารประกอบ
เครื่องทดสอบหาค่าความอ่อนตัวของยาง
เครื่องทดสอบหาค่าความอ่อนตัวของยาง เป็นผลงานที่ร่วมทุนวิจัยและพัฒนากับบริษัท เจริญทัศน์ จำกัด เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับหาค่าความอ่อนตัวของยางดิบ ตามมาตรฐาน ASTM D3194 สามารถอ่านค่าที่วัดได้ในระบบตัวเลข (Digital Display) ค่า Resolution เท่ากับ 0.5 หน่วย และใช้เวลาในการทดสอบแต่ละชิ้นตัวอย่าง ไม่เกิน 1 นาที
ผู้พัฒนา : สถาบันไทย - เยอรมัน
ผู้ประกอบการที่ร่วมโครงการ : บริษัท เจริญทัศน์ จำกัด
เครื่องทดสอบหาค่าความหนืดมูนนี่
โครงการพัฒนาสร้างเครื่องทดสอบหาค่าความหนืดมูนนี่
ดำเนินการโดย สถาบันไทย-เยอรมัน
ระยะเวลาของโครงการ 6 เดือน
หัวหน้าโครงการ นายเอกสิทธิ์ สุโขธนัง
บริษัทที่ร่วมโครงการบริษัท เจริญทัศน์ จำกัด
การวัดความหนืด Mooney Viscosity เป็นการทดสอบที่มีความสำคัญต่อการระบุคุณสมบัติของยางแท่งอย่างหนึ่ง โดยค่าความหนืดที่วัดได้จะสัมพันธ์กับน้ำหนักโมเลกุลของยาง ยิ่งยางมีน้ำหนักโมเลกุลสูง ก็จะมีค่า Mooney Viscosity สูงตามไปด้วย นอกจากนี้ค่า Mooney Viscosity ยังสามารถใช้บอกถึงการเกิด Storage Hardening ได้อีกด้วย โดยการเกิด Storage Hardening จะทำให้ความหนืดของยางแท่งมีค่าสูงขึ้น
เครื่องทดสอบวัดค่าความหนืดมูนนี่ มีหลักการทำงานคล้ายกับ เครื่องผสมพอลิเมอร์แบบปิด (CT Internal Mixer) ที่ทางบริษัทฯ ได้พัฒนา และออกวางจำหน่ายแล้ว กล่าวคือ อุปกรณ์ทั้งสองชนิดมีการควบคุมอุปกรณ์ของห้องผสมและดาย ในลักษณะใกล้เคียงกัน และมีการวัดค่าแรงบิดในขณะที่ทำการผสม / ทดสอบ ในลักษณะเดียวกันคือ การใช้อุปกรณ์ LOADCELL เป็นเซนเซอร์วัดค่าแรง แล้วนำค่าแรงที่วัดได้มาคูณค่าระยะทาง ก็จะได้ค่าแรงบิดออกมา และโปรแกรมจะแปลงค่าแรงบิดเป็นค่าความหนืดมูนนี่
ภาพที่ 12.1 แสดง ส่วนประกอบสำคัญของเครื่องทดสอบหาค่าความหนืดมูนนี่
ที่มา: ข้อเสนอโครงการพัฒนาสร้างเครื่องทดสอบหาค่าความหนืดมูนนี่(สถาบันไทย-เยอรมัน)
มีดกรีดยางพาราแบบปรับตั้งและเปลี่ยนใบมีดได้
เจ้าของสิ่งประดิษฐ์
นายเกรียงศักดิ์ งามแสน
41 หมู่ 15 ต.ชานุมาน
อ.ชานุมาน จ.อำนาจเจริญ
37210
เอกสารประกอบ
เครื่องลับมีดกรีดยางพารากึ่งอัตโนมัติ
เจ้าของสิ่งประดิษฐ์
นายนภดล ชูสิทธิ์
143/22 ถนนดอนนก ตำบลตลาด
อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000