ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว

ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว

การอบแห้งและการเก็บรักษาข้าวเปลือก (เฟส2)

อา, 21/10/2012 - 13:16 — admin5
รายละเอียด: 

(ต่อเนื่องถึงปี 35-36) นายสมชาติ โสภณรณฤทธิ์ คณะพลังงานและวัสดุ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี 91 ถนนสุขสวัสดิ์ 48 แขวงบางมด เขตราษฏร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140

งบปี พ.ศ.: 
2536
    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
    ภาพหน้าปก: 

    เครื่องอัดฟ่อนหญ้าฟาง (เฟส2)

    อา, 21/10/2012 - 13:09 — admin5
    รายละเอียด: 

    (ต่อเนื่องถึงปี 35-36)
    นายประยุทธ์ สุวรรณชีวะกร
    ศูนย์เครื่องจักรกลการเกษตรแห่งชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
    นครปฐม 73140

    งบปี พ.ศ.: 
    2536

    เอกสารประกอบ

    เอกสารเผยแพร่: 
    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
    ภาพหน้าปก: 

    เครื่องเกี่ยวนวดข้าว (เฟส2)

    อา, 21/10/2012 - 13:06 — admin5
    รายละเอียด: 

    (ต่อเนื่องถึงปี 35-36)
    นักวิจัย/สถาบัน
    นายวิชา หมั่นทำการ
    ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
    เลขที่ 1 หมู่ 6 ต.กำแพงแสน อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม 73140

    งบปี พ.ศ.: 
    2536

    เอกสารประกอบ

    เอกสารเผยแพร่: 
    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
    ภาพหน้าปก: 

    การอบแห้งและการเก็บรักษาข้าวเปลือก (เฟส1)

    ส, 20/10/2012 - 14:20 — admin5
    รายละเอียด: 

    (ต่อเนื่องถึงปี 35-36) นักวิจัย/สถาบัน นายสมชาติ โสภณรณฤทธิ์ คณะพลังงานและวัสดุ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี 91 ถนนสุขสวัสดิ์ 48 แขวงบางมด เขตราษฏร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140

    งบปี พ.ศ.: 
    2535
      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ภาพหน้าปก: 

      เครื่องอัดฟ่อนหญ้าฟาง (เฟส1)

      ส, 20/10/2012 - 14:16 — admin5
      รายละเอียด: 

      (ต่อเนื่องถึงปี 35-36)
      นักวิจัย/สถาบัน
      นายประยุทธ์ สุวรรณชีวะกร
      ศูนย์เครื่องจักรกลการเกษตรแห่งชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
      นครปฐม 73140

      งบปี พ.ศ.: 
      2535

      เอกสารประกอบ

      เอกสารเผยแพร่: 
      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ภาพหน้าปก: 

      เครื่องเกี่ยวนวดข้าว (เฟส1)

      ส, 20/10/2012 - 14:01 — admin5
      รายละเอียด: 

      (ต่อเนื่องถึงปี 35-36)
      นักวิจัย/สถาบัน
      นายวิชา หมั่นทำการ
      ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
      เลขที่ 1 หมู่ 6 ต.กำแพงแสน อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม 73140

      งบปี พ.ศ.: 
      2535

      เอกสารประกอบ

      เอกสารเผยแพร่: 
      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ภาพหน้าปก: 

      เครื่องสีข้าวระดับครัวเรือน

      พ, 17/10/2012 - 12:23 — admin5
      รายละเอียด: 

      เครื่องสีข้าว (เครื่องสีข้าวขาว และหรือข้าวกล้อง) สีข้าวเปลือกได้ไม่น้อยกว่า 35 กิโลกรัม/ชั่วโมง สามารถคัดแยก กรวดทราย ก่อนเข้ากรวยบรรจุข้าวเปลือกแยกรำหยาบใส่ถุงผ้า ไม่มีฝุ่นละออง มอเตอร์ 1 แรงม้า 220 โวลต์

      เครื่องสีข้าว NANO3 ราคา 16,900 บาท
      ลด 15% เหลือ ราคาประมาณ 15,000 บาท
      สีข้าวเปลือกได้ 40 กิโลกรัม/ชั่วโมง
      ค่าไฟในการใช้เครื่อง 3 บาท/ชั่วโมง (เครื่องขนาด 750 W 1 แรงม้า)
      ได้ แกลบ 40% เป็น นน. 16 กิโลกรัม/ชั่วโมง
      ขายแกลบได้ 16 บาท (คิดราคาแกลบ 1,000 บาท/ตัน)
      ได้เศษข้าวหัก 33 % เป็น นน. 8 กิโลกรัม/ชั่วโมง
      ขายเศษข้าวหักได้ 160 บาท (คิดราคาข้าวหัก 20 บาท/กก.)
      ได้ข้าวสารสำหรับบริโภค 16 กิโลกรัม/ชั่วโมง

      รวมมูลค่าที่ได้จากการสีข้าวเปลือก 40 กิโลกรัม ด้วยเครื่อง NANO3 ได้ 176 บาท
      หักลบต้นทุนค่าไฟฟ้า 3 บาท จะได้มูลค่าเพิ่มสุทธิ 173 บาท/ข้าวเปลือก 40 กิโลกรัม
      หาก 1 วัน ใช้เครื่องสีข้าว 4 ชั่วโมง จะได้มูลค่าเพิ่มเป็น 692 บาท
      หากใช้ 22 วัน จะได้มูลค่าเพิ่มเป็น 15,224 บาท

      โดยเครื่องสีข้าวดังกล่าวมีขนาดเล็กกะทัดรัด ไม่กินเนื้อที่ มีน้ำหนักเพียง 33 กิโลกรัม สามารถสีข้าวได้ 35 - 45 กิโลกรัมข้าวเปลือกต่อชั่วโมง มีอุปกรณ์คัดแยกสิ่งเจือปน รวมถึงข้าวเมล็ดเต็มและข้าวหักออกจากกันได้ อีกทั้งสามารถสีข้าวที่มีคุณภาพได้ตามความต้องการของผู้บริโภค ตลอดจนนำรำข้าวและแกลบใช้เลี้ยงสัตว์ หรือทำปุ๋ยได้ ซึ่งสามารถลดภาระค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการจ้างสีข้าว

       

      http://www.bugaboo.tv/watch/23815/มอบเครื่องสีข้าวจิ๋วให้เกษตรกร.html

      งบปี พ.ศ.: 
      2555
      ภาพประกอบ: 
      เครื่องสีข้าวระดับครัวเรือน

      เอกสารประกอบ

      เอกสารเผยแพร่: 
      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ภาพหน้าปก: 

      เครื่องดูดและกรองฝุ่นอุตสาหกรรมแบบไซโคลนสำหรับโรงสีข้าว

      พ, 17/10/2012 - 11:00 — admin5
      รายละเอียด: 

                  เครื่องดูดและดักกรองฝุ่นอุตสาหกรรมแบบไซโคลนสำหรับโรงสีข้าว เป็นเครื่องดูดและดักกรองฝุ่นอุตสาหกรรมแบบไซโคลนแพคเป็นแบบฟิวเตอร์ที่ใช้พื้นที่ในการติดตั้งน้อย แต่มีความจุสามารถจัดการกับงานกรองฝุ่นในปริมาณมาก มีหลักการทำงานแบบเดียวกับไซโคลนดักฝุ่น ฝุ่นที่มีมวลหนักจะถูกลมหมุนวนไปตกที่กรวยไซโคลน ฝุ่นที่มีมวลเบากว่าจะถูกถุงกรอง เป็นตัวกรองฝุ่นทำให้ถุงกรองฝุ่นลดภาระการกรองฝุ่นประสิทธิภาพดีกว่าถังแบบสี่เหลี่ยมไซโคลนเดิม

      คุณลักษณะและสมรรถนะของเครื่อง

      • มีขนาดกำลังการผลิตเป็นแบบ  PJ-90/45 สามารถรองรับการจัดการระบบฝุ่นแบบแห้งแทบทุกชนิด
      • โดยมีปริมาณแรงลมประมาณ 4,500 - 160,000 m3/h
      • สามารถใช้ได้กับไฟฟ้า 380 โวลต์ 3 เฟส ซึ่งมีกำลังไม่น้อยกว่า 75 Hp
      • ใช้ไซโคลนแบบดูดและผ่านตัวถุงกรองแบบ  Bag  Filter 
      • มีขนาดตัวเครื่อง  2400 x 7200 x 190 (Tank diameters x Tank height x Filter areas) พื้นที่ในการติดตั้งน้อย ความจุสูง
      • มีสมรรถนะในการกรองฝุ่นได้ 5–10 Micro-gram/m3
      • สามารถดูดฝุ่นแห้งได้ทุกชนิด กรองฝุ่นโดยถุงกรอง มีประสิทธิภาพการกรองได้ไม่น้อยกว่า 99 %  
      • ดูแลรักษาง่าย และได้มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      • ถังกรองฝุ่นแบบไซโคลน ประหยัดพื้นที่ติดตั้ง ฝุ่นไม่เกาะผนังถัง 

       

      งบปี พ.ศ.: 
      2554
      ภาพประกอบ: 
      เครื่องดูดและกรองฝุ่นอุตสาหกรรมแบบไซโคลนสำหรับโรงสีข้าว
        แคตตาล็อกเทคโนโลยี
        ภาพหน้าปก: 

        เครื่องต้นแบบชุดเครื่องมือผลิตข้าวฮาง

        อา, 14/10/2012 - 15:28 — admin5
        รายละเอียด: 

        นักวิจัย/สถาบัน นายพัฒนา พึ่งพันธุ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000

        งบปี พ.ศ.: 
        2555
        ภาพประกอบ: 
        เครื่องต้นแบบชุดเครื่องมือผลิตข้าวฮาง
        เครื่องต้นแบบชุดเครื่องมือผลิตข้าวฮาง
          แคตตาล็อกเทคโนโลยี
          ภาพหน้าปก: 

          เครื่องเตรียมดินสำหรับนาดำ

          อา, 14/10/2012 - 15:22 — admin5
          รายละเอียด: 

          เครื่องเตรียมดินสำหรับนาดำ

          ที่มาและความสำคัญ
          การปลูกข้าวนาดำ เป็นวิธีการปลูกที่ให้ผลผลิตสูง ซึ่งเกษตรกรต้องอาศัยเครื่องเตรียมดินสำหรับการปรับสภาพพื้นดินให้เหมาะกับการปลูกข้าวนาดำ โดยเครื่องเตรียมดินสำหรับนาดำที่เกษตรกรใช้อยู่ทั่วไปนั้น ยังปั่นดินได้ไม่ละเอียดจึงต้องวิ่งซ้ำกันหลายรอบทำให้สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิงมาก จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดความล้าช้าและมีต้นทุนในการผลิตสูง ดังนั้นการพัฒนาเครื่องเตรียมดินสำหรับนาดำที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นแนวทางหนึ่งในการประหยัดต้นทุนของการทำนาดำ

          ลักษณะของเครื่อง

          เครื่องเตรียมดินสำหรับนาดำ เพื่อติดตั้งกับรถไถแบบนั่งขับขนาด 34 แรงม้า มีขนาดหน้ากว้าง 200 เซนติเมตร การใช้งานเกษตรกรต้องมีการเตรียมแปลงนาก่อนโดยผ่านการไถดะ ไถแปร เพื่อกำจัดวัชพืชและย่อยดินให้มีขนาดเล็กก่อนแล้วจึงใช้เครื่องเตรียมดินสำหรับนาดำ โดยการไถเพียง 1 รอบ ก็สามารถเตรียมดินสำหรับปักดำต้นกล้าได้
          ส่วนประกอบสำคัญของเครื่อง (1) จุดยึดกับท้ายรถไถแบบนั่งขับจำนวน 3 จุด (2) ลูกกลิ้งตัวใหญ่ ทำหน้าที่ย่อยดิน (3) ลูกกลิ้งตัวเล็ก ทำหน้าที่ช่วยย่อยดินให้ละเอียด (4) คราด ทำหน้าที่ช่วยปรับหน้าดิน การทำงานรถไถจะเป็นต้นกำลังในการลากจูงเครื่องเตรียมดำสำหรับนาดำ ขณะที่ทำการลากจูงด้วยความเร็ว 3.2 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ลูกกลิ้งตัวใหญ่จะทำหน้าที่เป็นต้นกำลัง เพื่อให้ลูกกลิ้งตัวเล็กกลิ้งตามด้วยชุดถ่ายทอดกำลัง (5) เป็นชุดอัตราทดที่ทำการถ่ายทอดด้วยโซ่ จากลูกกลิ้งตัวใหญ่สู่ ลูกกลิ้งตัวเล็ก จากนั้นคราด (8) ก็จะทำการกระจายดินและเกลี่ยดินจากที่สูงไปสู่ที่ต่ำกว่าด้วยไม้ (6) ที่ติดบนสันของคราด ซึ่งคราดจะสามารถปรับระดับการเกลี่ยดินตามสภาพพื้นที่ด้วย (7) ถ้าหากพื้นที่ที่มีความแข็งอ่อนต่างกันมาก

          ประสิทธิภาพ
          - ความสามารถในการเตรียมดิน 18 นาที/ไร่

          ขนาดและน้ำหนักของเครื่อง
          - 2.2 X 1.60 X 1.25 เมตร, น้ำหนักของเครื่อง 280 กิโลกรัม

          ราคาเครื่องเชิงพานิชย์
          เครื่องละ 45,000 บาท

          หัวหน้าโครงการ
          นายณรงค์ หูชัยภูมิ
          คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
          199 หมู่ที่ 3 ถนนพังโคน-วาริชภูมิ อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร 47160

          งบปี พ.ศ.: 
          2553
            แคตตาล็อกเทคโนโลยี
            ภาพหน้าปก: 
            เนื้อหาแหล่งข่าว