โครงการส่งเสริมสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทาง ว. และ ท. สู่เชิงพาณิชย์
เครื่องตีเปลือกแยกใยแยกขุยมะพร้าว
เจ้าของผลงาน
นายสุทธิชัย อ่อนก้อน
๑๓๔ ถ.สกลกาฬสินธิ์ ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร
ประโยชน์
-เป็นเครื่องมือทำการระเบิดดาน
-เป็นการปรับโครงสร้างดินให้เกิดการร่วนซุยของดิน
-เป็นประโยชน์ด้านการเกษตร และไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
จุดเด่น
-มีขาริปเปอร์ พร้อมใบมีดติดที่บริเวณขาริปเปอร์ กว้าง ๗๐ ซม. ลงทำงานลึกที่ ๒๗-๓๐ ซม. ทำให้ดิน มีรอยแตกร้าวลึกที่ ๒๐ ซม. ซึ่จะห่างจากอ้อย ๑๐-๑๕ ซม.
-มีการใส่ปุ๋ยพร้อมการทำงาน และปีกยังสามารถกระจายปุ๋ยไปทั่วบริเวณแตกร้าว ทำให้รากหาธาตุอาหารได้ง่าย
-ลูกกลิ้งด้านหลังซึ่งมีลักษณะกลม มีเหล็กที่มนๆ ยึดติดรอบๆลูกกลิ้ง สามารถบดอัดดิน ให้แตกเพื่อปิดรอยขาริปเปอร์ไว้ ไม่ให้เกิดการสูญเสียความชื้นในดิน
เอกสารประกอบ
เครื่องผ่ามะพร้าวกึ่งอัตโนมัติ
เจ้าของผลงาน
นายสาทิป รัตนภาสกร 257/31 ซ.ประชาชื่น 30 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800
ประโยชน์
ผลิต ลดความเหนื่อยยาก และปลอดภัย ลดต้นทุนการผลิต มีคุณภาพสูง เป็นที่ในระดับมาตรฐานสากล
จุดเด่นหรือกลไกการทำงาน
การทำงานง่าย เพียงวางผลมะพร้าวในตำแหน่งที่กำหนดเครื่องจะทำงานเองจนสิ้นกระบวนการ
- ค่าใช้จ่ายต่ำและเร็วกว่าแรงงานคนกว่า 10 เท่า ความสามารถของเครื่องจักรทำงานได้ 8 ผล/นาทีหรือ 480 ผล/ชม.
- ระบบการทำงานมีความแม่นยำ ใช้ระบบนิวเมติกส์ สะดวก รวดเร็ว สะอาด
- สามารถผ่าผลมะพร้าวได้ทุกขนาด ทุกอายุความสุก ปลอดภัย เพราะใบมีดผ่าอยู่กับที่
ความแปลกใหม่
- สามารถผ่าผลมะพร้าวแบบขวางเส้นใยได้ดีมาก เมื่อเปรียบเทียบแบบการผ่าผลมะพร้าวตามแนวเส้นใย
- ได้น้ำมะพร้าวมาก เพราะผลมะพร้าวผ่าครึ่งราบเรียบถูกคว่ำลงทั้ง 2 ส่วน ทำให้ได้น้ำมะพร้าวไหลลงรางรองรับทั้งหมด
เอกสารประกอบ
เครื่องหย่อนกล้าข้าวนาโยนแบบประณีต
เจ้าของผลงาน
นายธนัตถ์ ศรีสุขสันต์
๓๔/๓๕ ซ.ลาดพร้าว ๒๓ แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กทม.
ประโยชน์
-เพื่อส่งเสริมวิธีการปลูกแบบเพาะกล้านาโยนที่ช่วยเพิ่มผลผลิต ลดระยะเวลาเพาะปลูก(เพิ่มวงรอบการผลิต) ลดการใช้ปุ๋ยและยากำจัดศัตรูพืช ช่วยลดต้นทุนโดยรวมช่วยเพิ่มรายได้และคุณภาพชีวิต
-เพื่อส่งเสริมการใช้เครื่องจักรการเกษตรที่พัฒนาขึ้นมาให้เหมาะสมกับการเพาะปลูกข้าวในประเทศไทย ซึ่งประสบปัญหาขาดแคลนแรงงานและต้นทุนค่าแรงสูง
จุดเด่น
-เป็นวิธ๊การปลูกข้าวที่ได้คุณภาพดีที่สุด เนืองจากไม่มีการขาดของราก ทำให้ต้นกล้าสามารถตั้งตรงขึ้นได้ภายใน ๑-๒ วัน และเจริญเติบโตได้เร็วกว่าการใช้เครื่องปักดำนาแบบเดิมถึง ๑๐ วัน
-รากต้นกล้าอยู่ใกล้ระดับผิวดิน จึงสามารถดูดซึมปุ๋ยและดึงออกซิเจนจากอากาศได้ดี
-ประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง
เอกสารประกอบ
เครื่องปลูกอ้อยแบบใช้ต้นกล้า
ผลงานของ
บริษัท เกษตรไทยอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
จังหวัดนครสรรค์
เอกสารประกอบ
เครื่องส่งข้อมูลการบริหารจัดการน้ำและระบบโทรมาตรลุ่มน้ำ กฟผ.
ผลงานของ
นายรัฐวิชญ์ พุฒิพัฒนาศักดิ์
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
เอกสารประกอบ
เครื่องตีเชื้อเห็ดในครัวเรือน
ผลงานของ
นายสมศักดิ์ ป่าวรรณ
วิทยาลัยสารพัดช่างลพบุรี
เอกสารประกอบ
โรงเรือนอีแว็ปหลังคาเย็นและระบบน้ำคูลลิ่งแพ็คปลอดตะกรัน
ผลงานของ
นายอรรถพร สุบุญสันต์
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เอกสารประกอบ
เครื่องผ่าถั่วปากอ้า
ผลงานของ
นายมานพ แย้มแฟง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี