โครงการพัฒนาระบบอัตโนมัติ/สมาร์ทเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของภาคการผลิตและบริการ
หุ่นยนต์หยิบวางแบบอัตโนมัติ (TPD65)
หัวหน้าโครงการ : นายเอกรัฐ ชัยวีรสกุล กรรมการผู้จัดการ
คณะทำงานโครงการ (1) : ผศ.ดร.พิพัฒน์ ไพศาลภาณุมาศ ที่ปรึกษาโครงการ
คณะทำงานโครงการ (2) : นายมนต์ชัย เทียนทอง ที่ปรึกษาโครงการ
ชื่อสถานประกอบการผู้พัฒนา : บริษัท ไทเกอร์ รัน จำกัด
เครื่องการจัดเรียงแบบอัตโนมัติ แบบประหยัดพื่นที่ (TPD65)
หัวหน้าโครงการ : ว่าที่ร้อยตรี เจตนพรัตน์ สมผิว กรรมการผู้จัดการ
คณะทำงานโครงการ (1) : นาย วิโรจน์ สิทธิพฤกษ์ ที่ปรึกษาโครงการ
คณะทำงานโครงการ (2) : ผศ.ดร.พิพัฒน์ ไพศาลภาณุมาศ ที่ปรึกษาโครงการ
ชื่อสถานประกอบการผู้พัฒนา : บริษัท อีเทอร์นอลไรส์ ออโตเมชั่น จำกัด
ระบบรีดผ้าอัตโนมัติ (TPD65)
หัวหน้าโครงการ : ดร. สุรีรัตน์ แซ่ตั้ง
คณะทำงานโครงการ (1) : รศ. ดร. สุชาติ แย้มเม่น
คณะทำงานโครงการ (2) : นาย อธิศ ปทุมวรรณ
คณะทำงานโครงการ (3) : นาย ศุภฤกษ์ กานต์ธิรากูล
ชื่อสถานประกอบการผู้พัฒนา : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ที เจ ซัพพลาย
เครื่องบรรจุลำไยอบแห้งลงกล่องอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมแปรรูปลำไยอบแห้ง (TPD65)
หัวหน้าโครงการ : นายณัฐพงษ์ พุทธิกิตติพันธ์
คณะทำงานโครงการ (1) : นายกลิ้ง กาญจนสุวรรณ
ที่ปรึกษาด้านวิชาการ : อาจารย์ศุภกาล ตุ้ยเต็มวงศ์
ชื่อสถานประกอบการผู้พัฒนา : บริษัท เอไอ อินดัสทรีส์ จำกัด
ชื่อสถานประกอบการ : บริษัท ปิยะมงคล เค.บี.เอเชี่ยนฟรุ๊ต จำกัด
แพลตฟอร์มระบบยืนยันตัวตนและจัดการสถานที่ด้วย AI อัจฉริยะ(AUS64)
จากสถานการณ์การแพร่กระจายอย่างรวดเร็วของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทั่วโลก มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทาให้ทุกประเทศประสบปัญหาทางด้านการรับมือและป้องกัน จากการระบาดรอบใหม่ที่เกิดขึ้นภายในประเทศ ส่งผลให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจ หลายองค์กรไม่สามารถหยุดงานได้จาเป็นต้องเปิดดาเนินกิจการแบบเต็มรูปแบบ ทำให้ต้องเข้มงวดในการคัดกรองพนักงาน หรือผู้ติดต่อจากภายนอกเพื่อป้องกันเหตุที่อาจส่งผลให้องค์กรต้องหยุดกระบวนการผลิตหรือส่งผลกระทบทั้งโรงงาน เช่น มาตรการกาจัดพื้นที่ของผู้ป่วยภายนอก มาตรการตรวจวัดอุณหภูมิ มาตรการเอกสารคัดกรอง บันทึกการเดินทางไปสถานที่ต่าง ๆ เป็นต้น ทำให้เวลาในการตรวจสอบประวัติและกรอกข้อมูลดังกล่าวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ แม้กระทั่งระบบการคัดกรองในปัจจุบันเองก็อาจเป็นแหล่งแพร่กระจายได้จากขั้นตอนการปฏิบัติงาน เช่น การแลกบัตร การเขียนกรอกเอกสารล้วนแล้วแต่เป็นความเสี่ยงที่อาจเกินขึ้นได้ จากเหตุผลที่กล่าวมาจึงมีแนวคิดในการพัฒนาแพลตฟอร์มระบบยืนยันตัวตนและจัดการสถานที่ด้วย AI อัจฉริยะ ลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายจากการปฏิบัติงานคัดกรอง โดยสามารถยืนยันตัวตน คัดกรองบุคคลที่จะเข้า-ออกองค์กร จำกัดพื้นที่ของบุคคลให้อยู่ในพื้นที่ที่กาหนดจากทางบริษัท เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากบุคคลภายนอกและภายใน ทำให้การทำงานสะดวกและมีประสิทธิภาพมากขึ้น และแพลตฟอร์มที่พัฒนาขึ้นยังสามารถนำไปปรับใช้กับงานด้าน Inspection ในโรงงานอุตสาหกรรมได้
กระบวนการผลิตแบบสมาร์ท ในการพาสเจอไรซ์อุตสาหกรรมนม ด้วยระบบ SCADA & IIOT(AUS64)