ลำพูน

เครื่องกรอเส้นฝ้ายขนาดเล็กด้วยระบบไฟฟ้า

ศ, 25/11/2022 - 14:05 — admin5
รายละเอียด: 

ผู้พัฒนา รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ2 วิทยาลัยเทคนิคลำพูน

อาจารย์ที่ปรึกษา นางสาวชุดาภรณ์ ศรีโกเศส นายสมพร อ่อนเกตุพล นายจารึก ทองทรัพย์ นายคมกริต น้อยสะปุ๋ง นางสาวปวิตรา จั่นจีน นางสาวจารุพันธ์ บุบผาพ่วง

นักศึกษา นางสาวหอมเครือ ณ มาลัย นายปฎิกานต์ ปาลีกุย นางสาวลัดดาวัลย์ จิตมานนท์ นางสาววิรัญญารินทร์ วังมูล นายพงศกร ปาสวัสดิ์

งบปี พ.ศ.: 
2565
    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
    ภาพหน้าปก: 

    อุปกรณ์คว้านเมล็ดลำไย "ตุ๊ดตู่คู่ใจ"

    ศ, 25/11/2022 - 13:14 — admin5
    รายละเอียด: 

    ผู้พัฒนา รางวัลชมเชย วิทยาลัยเทคนิคลำพูน

    อาจารย์ที่ปรึกษา นายคมกริต น้อยสะปุ๋ง นายสมพร อ่อนเกตุพล นางสาวปวิตรา จั่นจีน นางสาวธนาภรณ์ มาลี นายจารึก ทองทรัพย์

    นักศึกษา นายขจรศักดิ์ ปินตาติ๊บ นางสาววิรัญญารินทร์ วังมูล นางสาวหอมเครือ ณ มาลัย

    งบปี พ.ศ.: 
    2564
      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ภาพหน้าปก: 

      เครื่องกรอเส้นด้ายสำหรับทอผ้าด้วยระบบไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ

      พฤ, 24/11/2022 - 10:40 — admin5
      รายละเอียด: 

      ผู้พัฒนา รางวัลชนะเลิศ วิทยาลัยเทคนิคลำพูน

      อาจารย์ที่ปรึกษา นายคมกริต น้อยสะปุ๋ง นายสมพร อ่อนเกตุพล นายอธิวัฒน์ อุประกุล นางสาวฐปนัท ปุญทาเปิ้น

      นายจารึก ทองทรัพย์

      นักศึกษา นายขจรศักดิ์ ปินตาติ๊บ นางสาวฐิติกาญจน์ บุญมาตา นางสาวณัฐธิดา สุริยะ นายวงศกร โพธิ นายศักดินนท์ กุนนารา

      นายคมชาญ ชัยวรรณ

      งบปี พ.ศ.: 
      2563
        แคตตาล็อกเทคโนโลยี
        ภาพหน้าปก: 

        เครื่องบรรจุลำไยอบแห้งลงกล่องอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมแปรรูปลำไยอบแห้ง (TPD65)

        อ, 12/04/2022 - 18:13 — admin2
        รายละเอียด: 

        หัวหน้าโครงการ  : นายณัฐพงษ์ พุทธิกิตติพันธ์
        คณะทำงานโครงการ (1) : นายกลิ้ง กาญจนสุวรรณ
        ที่ปรึกษาด้านวิชาการ : อาจารย์ศุภกาล ตุ้ยเต็มวงศ์
        ชื่อสถานประกอบการผู้พัฒนา : บริษัท เอไอ อินดัสทรีส์ จำกัด 
        ชื่อสถานประกอบการ : บริษัท ปิยะมงคล เค.บี.เอเชี่ยนฟรุ๊ต จำกัด

        งบปี พ.ศ.: 
        2565
          แคตตาล็อกเทคโนโลยี
          ภาพหน้าปก: 

          เครื่องอัดดินและปลูกผักอินทรีย์ในท่อ PVC แบบอัตโนมัติ(RID64)

          ศ, 09/04/2021 - 10:14 — bunsita
          รายละเอียด: 

          วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแปรรูปสมุนไพรไทยบ้านหลุก มีสมาชิกประกอบอาชีพหลักคือการทำสวนลำไย รายได้ของสมาชิกขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้า อากาศ ราคา ในบางปีก็ขาดทุน ทำให้สมาชิกส่วนหนึ่งยังมีหนี้สิน ทำให้รายได้ไม่พอกับรายจ่าย เนื่องจากอาชีพเกษตรกรชาวสวนลำไยเพียงช่องทางเดียวไม่อาจสร้างรายได้ให้กับสมาชิกได้อย่างเพียงพอ นอกจากนี้การทำสวนลำไย ยังมีรายได้เพียงปีละครั้ง หากปีไหนผลผลิตหรือราคาตกต่ำ ก็จะทำให้สมาชิกมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการเลี้ยงครอบครัวและชำระหนี้สิน ดังนั้น สมาชิกจึงได้เริ่มหาอาชีพเสริม เพื่อช่วยเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว โดยการปลูกผักจำหน่าย และได้ร่วมกับจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนขึ้น เพื่อเป็นการรวมกลุ่ม ขอรับการสนับสนุนองค์ความรู้ ด้านวิชาการ ปัจจัยการผลิต มาตรฐานการผลิต และการตลาด การเลือกปลูกผักกลุ่มได้เน้นการปลูกผักอินทรีย์ และผักปลอดภัย ลดการใช้สารเคมี เพื่อสุขภาพของผู้ปลูกเอง และความปลอดภัยของผู้บริโภค เนื่องจากปัจจุบันผักอินทรีย์ และผักปลอดภัยได้รับการตอบรับที่ดีจากผู้บริโภคและตลาด แต่การผลิตยังทำได้จำกัด เนื่องจาก ไม่สามารถควบคุมปัจจัยภายนอก เช่น โรค แมลง ศัตรูพืช วัชพืช สมาชิกส่วนใหญ่ปลูกพืชในแปลงปลูก ทำให้ไม่สามารถควบคุมปัจจัยและสภาพแวดล้อมได้ มีสมาชิกบางรายได้ทดลองปลูกผักโดยการทำแคร่ยกสูง ได้ผลค่อนข้างดี สามารถช่วยลดปัญหาโรค แมลง ศัตรูพืช วัชพืชได้ดี เนื่องจากเป็นการปลูกแบบประณีต  แต่มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง เนื่องจากต้องทำแปลงปลูกยกสูง และการใช้ไม้มีอายุค่อนข้างสั้น ผุพักง่ายเพราะต้องสัมผัสกับน้ำและความชื้นตลอดเวลา

          จากปัญหาดังกล่าว กลุ่มฯ ได้ศึกษาจากผู้ที่ประสบความสำเร็จมาก่อน และปรึกษากับที่ปรึกษาจากสถาบันการเกษตร ได้รับคำแนะนำให้ปลูกผักแบบยกแคร่ หรือในท่อนำ PVC หรือรางไม้ไผ่ หรือวัสดุอื่นๆ ที่เป็นราง โดยนำเอาหลักการปลูกผักแบบยกแคร่ และการปลูกผักไฮโดรโพนิกส์มาผสมผสานกัน ซึ่งสมาชิกหลายคนได้มีการทดลองปลูกผักดังกล่าวแล้วบนแคร่ โดยการนำกระเบื้องเก่ามาวางบนแคร่แล้วนำวัสดุดินปลูกมารองปลูก เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหา การกำจัดวัชพืช ปัญหาแมลง โรคพืชที่มาจากดิน จากการทดลองผลปรากฏว่าได้ผลดีมาก เนื่องจากพืชผักเป็นพืชล้มลุกต้นไม่ใหญ่ อายุสั้น จึงไม่จำเป็นต้องใช้ดินปลูกจำนวนมากเหมือนพืชชนิดอื่นๆ แต่ปัญหาของการปลูกพืชแบบยกแคร่คือ ต้องทำแคร่ยกสูง ยังใช้วัสดุดินปลูกมาก ต้นทุนสูง และฐานของแคร่หากใช้ไม้จะผุเร็ว แต่หากใช้เหล็กก็มีราคาสูง จึงได้ศึกษาต่อ จึงพบว่า ที่ประเทศอิสรเอล มีการปลูกผักนรางปลูก โดยรางมีความกว้าง 2 นิ้ว ลึก 4 นิ้ว ใช้วางบนรางปลูก ใช้เครื่องอัดดิน และหยอดเมล็ดพันธุ์ลงไปในราง ลดการใช้แรงงานและลดขั้นตอนการเพาะเมล็ดพันธุ์ลง การปลุกดังกล่าวต้นทุนต่ำ ทำง่าย และผักค่อนข้างสมบูรณ์ และวางแผนการผลิตได้ และในประเทศไทยก็เริ่มมีการปลูกผักโดยใช้ท่อน้ำ PVC แต่ยังเป็นการปลูกแบบใช้แรงงานคนทั้งหมด จากการศึกษาพบว่า วิธีการดังกล่าวได้ผลดีมาก ต้นทุนต่ำ ควบคุมการผลิต ขอรับรองมาตรฐานได้ง่าย  การปลูกผักในท่อน้ำ PVC สามารถทำได้ เจริญเติบโตได้ดี โดยสามารถปลูกแบบอัตโนมัติ ระบบน้ำหยด ตั้งเวลาปิดเปิดน้ำให้เป็นเวลา ให้ปุ๋ยทางน้ำ สามารถควบคุมแมลง ศัตรูพืชได้ดี เพราะยกพื้นสูง ไม่มีวัชพืช ควบคุมความชุ่มชื้นได้ ทำให้พืชเจริญเติบโต สามารถวางแผนการผลิตและการจำหน่ายระยะยาวได้ กลุ่มฯ จึงเลือกที่จะปลูกผักในท่อน้ำ PVC แต่เนื่องการปลูกผักในท่อน้ำยังต้องใช้แรงงานคน ซึ่งปัจจุบันหาค่อนข้างยาก และค่าจ้างค่อนข้างสูง โดยเฉพาะการอัดดินลงในท่อน้ำครั้งแรกแล้ว และอาจต้องมีการเปลี่ยนดินในท่อเดิมต่อการปลูก 2 รอบต่อครั้ง เพื่อให้ธาตุอาหารในดินสมบูรณ์ ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืช กลุ่มจึงมีความต้องการขอรับการสนับสนุนเครื่องอัดดินและปลูกผักอินทรีย์ในท่อ PVC แบบอัตโนมัติ กลุ่มฯ คาดว่าเครื่องดังกล่าวจะช่วยทำให้สมาชิกในกลุ่มได้รับความสะดวก ลดต้นทุนการผลิต จะทำให้เกิดการขยายการผลิต และสร้างรายได้ให้กับสมาชิกแบบยั่งยืนต่อไป

           

           

          งบปี พ.ศ.: 
          2564
          ภาพประกอบ: 
          เครื่องอัดดินและปลูกผักอินทรีย์ในท่อ PVC แบบอัตโนมัติ(RID64)
            แคตตาล็อกเทคโนโลยี
            ระดับ: 
            ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
            กลุ่มเป้าหมาย: 
            วิสาหกิจชุมชน
            ภาพหน้าปก: 
            เนื้อหาแหล่งข่าว