โครงการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่า (VCE)

โครงการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่า

โครงการพัฒนาสร้างเครื่องพาสเจอไรซ์แบบแพลท (VCE65)

อ, 12/04/2022 - 11:10 — admin2
รายละเอียด: 
ผู้เสนอโครงการ (หัวหน้าโครงการ)  : นายปรีชา เต็มพร้อม 
ผู้ประกอบการที่ร่วมโครงการ  : นายสามารถ เตรียมชัยศรี 
ผู้ประสานงาน  : นางสาวพลอยนพรรณ รวยพลอย 
 

งบปี พ.ศ.: 
2565
    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
    ภาพหน้าปก: 

    โครงการพัฒนาสร้างเครื่องอบแห้งแบบพ่นฝอยชนิดแก้ว (VCE65)

    จ, 11/04/2022 - 15:52 — admin2
    รายละเอียด: 

    ผู้เสนอโครงการ (หัวหน้าโครงการ)  : นายปรีชา  เต็มพร้อม 
    ผู้ประกอบการที่ร่วมโครงการ  : นายสาธร  เตรียมชัยศรี     
    ผู้ประสานงาน  : นางสาวพลอยนพรรณ  รวยพลอย  

               

    งบปี พ.ศ.: 
    2565
      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
      ภาพหน้าปก: 

      โครงการพัฒนาสร้างเครื่องระเหยสุญญากาศแบบมีใบกวน (VCE65)

      จ, 11/04/2022 - 15:14 — admin2
      รายละเอียด: 

      ผู้ร่วมโครงการ
      ผู้เสนอโครงการ (หัวหน้าโครงการ)  : นายปรีชา  เต็มพร้อม                
      ผู้ประกอบการที่ร่วมโครงการ  : นายสาธิต  เตรียมชัยศรี                            
      ผู้ประสานงาน  : นางสาวพลอยนพรรณ  รวยพลอย             

      งบปี พ.ศ.: 
      2565
        แคตตาล็อกเทคโนโลยี
        ภาพหน้าปก: 

        โครงการพัฒนาสร้าง “เกวียน” หุ่นยนต์ทำไร่ (VCE65)

        จ, 11/04/2022 - 14:50 — admin2
        รายละเอียด: 

        ผู้เสนอโครงการ (หัวหน้าโครงการ)  : นายปรีชา  เต็มพร้อม 
        ผู้ประกอบการที่ร่วมโครงการ  : นายราชันท์  ฟักเมฆ                       
        ผู้ประกอบการที่ใช้งานเครื่องจักร  : นายธีรพงษ์  กาญจนกันติกุล               
        ที่ปรึกษาด้านวิชาการ  : ผศ.ดร.สุรวุฒิ ยะนิล
        ผู้ประสานงาน  : นายราชันท์ ฟักเมฆ                     

        งบปี พ.ศ.: 
        2565
          แคตตาล็อกเทคโนโลยี
          ภาพหน้าปก: 

          โครงการพัฒนาระบบเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม้ของโรงไฟฟ้าเผาขยะและชีวมวล และลดมลพิษทางอากาศด้วยการผสมก๊าซ Oxy-Hydrogen ที่ผลิตจากน้ำ(VCE64)

          จ, 05/04/2021 - 12:01 — bunsita
          รายละเอียด: 

          ในปัจจุบันเชื้อเพลิงฟอสซิลหายากและมีราคาที่สูงขึ้น รวมทั้งการตระหนักถึงปัญหาโลกร้อน และมลพิษทางอากาศที่มาจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ทำให้คนหันมาใช้พลังงานทางเลือกและพลังงานธรรมชาติมากขึ้น โดยปัจจุบันมีโรงไฟฟ้าชีวมวลเกิดขึ้นหลายแห่งในประเทศ แต่ก็ต้องประสบกับปัญหาการนำชีวมวลมาใช้ในการผลิตไฟฟ้า แต่เกิดการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ ทำให้ต้องสูญเสียเชื้อเพลิงมากกว่าที่จำเป็น และยังก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศอีกด้วย

                    เนื่องจากก๊าซไฮโดรเจนเป็นก๊าซที่มีการเผาไหม้ที่ค่าความร้อนสูง ไฮโดรเจนสามารถเผาไหม้ที่อุณหภูมิถึง 2045° C ในขณะเดียวกันก๊าซมีเทนหรือก๊าซธรรมชาติจะเผาไหม้ที่อุณหภูมิเพียงแค่  1325° C ส่วนชีวมวลจะเผาไหม้ที่อุณหภูมิประมาณ 800° C ขึ้นอยู่กับประเภทของชีวมวลที่นำมาใช้ ดังนั้นไฮโดรเจนจึงเป็นก๊าซที่สามารถใช้ในการผลิตไอน้ำที่ค่าความร้อนสูงกว่าการใช้ชีวมวลและเชื้อเพลิงฟอสซิล จึงได้ทำการเติมไฮโดรเจนเข้าไปผสมกับการเผาไหม้ของชีวมวลในการต้มไอน้ำ ทำให้เกิดการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ ลดการใช้พลังงานและลดมลพิษ เนื่องจากไม่มีการปล่อยสารไฮโดรคาร์บอน คาร์บอนมอนอกไซด์ หรือการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

           

           

          งบปี พ.ศ.: 
          2564
          ภาพประกอบ: 
          โครงการพัฒนาระบบเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม้ของโรงไฟฟ้าเผาขยะและชีวมวล และลดมลพิษทางอากาศด้วยการผสมก๊าซ Oxy-Hydrogen ที่ผลิตจากน้ำ(VCE64)
            แคตตาล็อกเทคโนโลยี
            ระดับ: 
            ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
            กลุ่มเป้าหมาย: 
            ภาคอุตสาหกรรม
            ภาพหน้าปก: 

            โครงการพัฒนาสร้างเครื่องระเหยข้นแบบบังคับให้หมุนเวียน(VCE64)

            จ, 05/04/2021 - 11:51 — bunsita
            รายละเอียด: 

            การระเหยของเหลวด้วยการให้ความร้อนสมัยใหม่หันมาใช้ระบบท่อ Shell and tube เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนความร้อน ในของเหลวบางชนิดเมื่อได้รับความร้อนระดับหนึ่งมีการตกผลึก หรือเป็นตะกรัน ทำให้ท่อแลกเปลี่ยนความร้อนเครื่องระเหยข้นแบบแนวนอนอุดตันทำให้ยากต่อการทำงานและซ่อมแซมรักษา ใช้เวลามากในการกลับมาทำงานแต่เครื่องระเหยข้นแบบท่อแนวตั้งใช้หลักการไหลเวียนของของเหลวด้วยความเร็วที่สูงจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำและ ไม่ให้ของเหลวระเหยเดือดระหว่างภายในท่อ ทำให้ลดการเกิดภาวะการตกผลึก หรือ ตะกรัน และอุดตันในท่อ ทำให้ไม่ต้องหยุดการทำงานเพื่อซ่อมแซมรักษาและนำพลังงานความร้อนที่ได้จากการระเหยบังคับกลับมาเข้าสู่ระบบหมุนเวียนใหม่เพื่อช่วยการทำความร้อนให้กับระบบ  ซึ่งเป็นการช่วยการประหยัดพลังงานและต้นทุนในการสร้างความร้อนให้น้อยลงโดยใช้การดูดแบบสุญญากาศเข้ามาเป็นตัวดึงความร้อนจากการระเหยกลับเข้ามาสู่ในระบบใหม่อีกครั้ง         

             

            งบปี พ.ศ.: 
            2564
            ภาพประกอบ: 
            โครงการพัฒนาสร้างเครื่องระเหยข้นแบบบังคับให้หมุนเวียน(VCE64)
              แคตตาล็อกเทคโนโลยี
              ระดับ: 
              ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
              กลุ่มเป้าหมาย: 
              ภาคอุตสาหกรรม
              ภาพหน้าปก: 

              โครงการพัฒนาสร้างหนูนา หุ่นยนต์ทำนา(VCE64)

              จ, 05/04/2021 - 11:07 — bunsita
              รายละเอียด: 

              วิกฤตสภาพอากาศ ปัญหาขาดแคลนแรงงาน การผลิตขาดเทคโนโลยีและเครื่องจักรไม่ทันสมัย ภาคการเกษตร ยังติดกับดักกับปัญหา ต้นทุนการผลิตสูง และผลผลิตต่ำ เครื่องจักรที่ทันสมัยราคาสูง ทั้งยังไม่เหมาะสมกับพื้นที่ หากการเกษตรยังไม่พัฒนาต่อ เราจะสูญเสียการแข่งขันกับตลาดโลก

              การใช้เครื่องจักรที่ฉลาด เหมาะสมกับพื้นที่ และเทคโนโลยีข้อมูลมาพยากรณ์การผลิตด้วย AI ช่วย จะทำให้แก้ปัญหาดังกล่าวได้ หนูนา หุ่นยนต์ทำนา เป็นการปฏิวัติกระบวนการทำเกษตร ไปสู่การเกษตรแบบแม่นยำ หรือ Smart farming เป็นหนึ่งในนโยบายของรัฐบาลพร้อมส่งเสริม

               

              งบปี พ.ศ.: 
              2564
              ภาพประกอบ: 
              โครงการพัฒนาสร้างหนูนา หุ่นยนต์ทำนา(VCE64)
                แคตตาล็อกเทคโนโลยี
                ระดับ: 
                ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
                กลุ่มเป้าหมาย: 
                เกษตรกร
                ภาพหน้าปก: 

                โครงการพัฒนาสร้างเครื่องต้นแบบ 3D Bin picking(VCE64)

                จ, 05/04/2021 - 10:25 — bunsita
                รายละเอียด: 

                ปัจจุบัน ระบบ Vision 3D เข้ามามีบทบาทมากขึ้นในอุตสาหกรรม ในการบอกตำแหน่งของชิ้นงาน (กxยxลึก/มุม) และช่วยตัดสินใจให้ Robot หยิบชิ้นงานเรียงลำดับก่อน-หลัง และการวางตำแหน่งมือหยิบในแต่ละครั้งของการหยิบ ระบบ 3D Bin Picking ส่วนใหญ่ยังเป็นการนำเข้าสินค้าสำเร็จรูปจากต่างประเทศ รองรับการทำงานร่วมกับ Robot ยี่ห้อที่เป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย เช่น ABB, Mitsubishi ฯลฯ ราคา 3D Bin Picking ค่อนข้างสูง และมีรูปแบบเทคโนโลยีให้เลือกไม่มาก

                 

                 

                งบปี พ.ศ.: 
                2564
                ภาพประกอบ: 
                โครงการพัฒนาสร้างเครื่องต้นแบบ 3D Bin picking(VCE64)
                  แคตตาล็อกเทคโนโลยี
                  ระดับ: 
                  ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
                  กลุ่มเป้าหมาย: 
                  ภาคอุตสาหกรรม
                  ภาพหน้าปก: 

                  โครงการพัฒนาสร้างเครื่องปอกและหั่นมะม่วงเบา(VEC64)

                  ศ, 02/04/2021 - 15:27 — bunsita
                  รายละเอียด: 

                  ในบ้านเรานั้นมะม่วงจัดเป็นผลไม้เศรษฐกิจซึ่งส่งออกเป็นอันดับต้นๆ ของโลกโดยสายพันธุ์หนึ่งที่แพร่หลายมากที่สุดในภาคใต้ของไทยและมีผลผลิตออกมาเป็นจำนวนมากตลอดทั้งปีนั่นคือมะม่วงเบาซึ่งได้มีการนำมาแปรรูปเป็นผลไม้แช่อิ่มและมะม่วงดองซึ่งในกรรมวิธีการทำมะม่วงเบาแช่อิ่มนี้มีขั้นตอนของการเตรียมวัตถุดิบคือการปอกเปลือกและหั่นผ่าครึ่งก่อนที่จะนำไปแช่อิ่มโดยในขั้นตอนนี้ตามโรงงานอุตสาหกรรมอาหารต่าง ๆ หรือ ตามชุมชนทั่วไปที่เลือกที่จะทำมะม่วงแช่อิ่มด้วยตนเองจะอาศัยการใช้แรงงานคนในการปอกเปลือกมะม่วงซึ่งเวลาในการปอกและหั่นผ่าครึ่งแต่ละลูกก็ใช้เวลาพอสมควรหากเป็นมะม่วงดิบในช่วงเวลานี้อัตราค่าจ้างแรงงานก็เริ่มสูงขึ้นพร้อมกับในช่วงนี้ที่เศรษฐกิจไม่ดีผู้ประกอบการส่วนมากก็จะไม่ค่อยเลือกที่จะเพิ่มค่าใช้จ่ายให้กับตนเองตลอดจนเครื่องที่สามารถทำตามขั้นตอนดังกล่าวยังไม่มีการผลิตออกมาโดยตรงทั้งจากนอกและในประเทศดังนั้นด้วยเหตุผลที่กล่าวมานี้จึงคิดที่จะประดิษฐ์ต้นแบบอัตโนมัติที่มุ่งเน้นใช้ในครัวเรือนหรือโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กโดยมีราคาของเครื่องที่ไม่สูง

                  งบปี พ.ศ.: 
                  2564
                  ภาพประกอบ: 
                  โครงการพัฒนาสร้างเครื่องปอกและหั่นมะม่วงเบา(VEC64)
                    แคตตาล็อกเทคโนโลยี
                    ระดับ: 
                    ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
                    กลุ่มเป้าหมาย: 
                    ภาคอุตสาหกรรม
                    ภาพหน้าปก: 

                    โครงการพัฒนาสร้างเครื่องอบแห้งแบบแช่เยือกแข็งมัลติฟังก์ชั่น(VCE64)

                    ศ, 02/04/2021 - 15:01 — bunsita
                    รายละเอียด: 

                    ในงานวิจัยมีระดับปฏิบัติการจำเป็นต้องมีอุปกรณ์หลากหลาย เพื่อรองรับงานวิจัยต่างๆ ด้วยงบประมาณที่จำกัด การซื้อเครื่องจักรหลายๆเครื่องอาจจะไม่ใช่ทางเลือก ดังนั้นการที่เครื่องจักรที่รองรับการทำงานได้หลายรูปแบบในเครื่องเดียวช่วยตอบโจทก์ทางด้านงบประมาณได้

                    เครื่องอบแห้งแบบแช่เยือกแข็งมัลติฟังก์ชั่นสามารถทำงานหลากหลาย ประกอบไปด้วย  1.การทำเยือกแข็ง 2.การอบในชั้นบรรยากาศ 3.การอบระเหิดภายใต้สุญญากาศ 4.การอบระเหยภายใต้สูญญากาศ ทั้ง4กระบวนการนี้เป็นปฏิบัติการขั้นพื้นฐานในห้องปฏิบัติการส่วนใหญ่ เครื่องอบแห้งแบบแช่เยือกแข็งมัลติฟังก์ชั่นเป็นระบบอบแห้งวัตถุดิบที่โดยการให้ความร้อนด้วยอินฟาเรดฮีตเตอร์ไฟฟ้าและดูดอากาศออกด้วยระบบสุญญากาศโดยมอรเตอร์ปั้มสุญญากาศ ตัวถังเป็นระบบปิด มีท่อและวาล์วทางออกเข้าสู่ท่อแลกเปลี่ยนความร้อนกับน้ำเย็น มีปั๊มสุญญากาศสำหรับสร้างความดันสุญญากาศภายในระบบ ในการใช้งานอบในชั้นบรรยากาศสามารถเปิดฝาและให้ความร้อนด้วยอินฟาเรดฮีตเตอร์ในส่วนของการอบแรงดันปิดฝาให้เป็นระบบปิดเพื่อสร้างแรงดัน ปั๊มสุญญากาศเปิดใช้งานเมื่อต้องการสร้างความดันสุญญากาศขณะที่ระเหยหรือระเหิดทำให้สามารถระเหยหรือระเหยด้วยอุณหภูมิที่ต่ำกว่า 100 องศาเซลเซียส และการอบแห้ง ไอระเหยจะกลั่นตัวเป็นของเหลวที่ท่อแลกเปลี่ยนความร้อนที่มีความเย็นด้วยน้ำเย็นที่ไหลเวียนผ่านท่อ

                     

                    งบปี พ.ศ.: 
                    2564
                    ภาพประกอบ: 
                    โครงการพัฒนาสร้างเครื่องอบแห้งแบบแช่เยือกแข็งมัลติฟังก์ชั่น(VCE64)
                      แคตตาล็อกเทคโนโลยี
                      ระดับ: 
                      ต้นแบบเชิงพาณิชย์ / อุตสาหกรรม
                      กลุ่มเป้าหมาย: 
                      ภาคอุตสาหกรรม
                      ภาพหน้าปก: 
                      เนื้อหาแหล่งข่าว